Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถานการณ์ที่ 3, นางสาวบุญทิตา ช่วยสงค์ 61104824 - Coggle Diagram
สถานการณ์ที่ 3
สิ่งที่ต้องการทราบเพิ่มเติม
ประวัติด้านสุขภาพ
BMI
โรคประจำตัว
น้ำหนัก ส่วนสูง
รอบเดือน
ประวัติการมีเพศสัมพันธ์
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์
การป้องกันขณะมีเพศสัมพันธ์
ประวัติการคุมกำเนิด
ควรแนะนำวิธีคุมกำเนิดอย่างไร
ถุงยางอนามัย
ไม่มีฮอร์โมน
ไม่เป็นอันตรายต่อการเจริญเติบโตของวัยรุ่น
ประสิทธิภาพคุมกำเนิด 98%
ต้องใช้ต่อเนื่องกันจึงจะป้องกันได้
ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้
ยางฝังคุมกำเนิด
มีประสิทธิภาพนาน3-5ปี
อายุไม่ถึง20 ปีสามารถ
รับบริการฝังฟรีที่ รพ.รัฐ
มีโอกาสตั้งครรภ์เพียง 0.01-0.5%
มีฮอร์โมน
ทำให้ยับยั้งการเจริญเติบโตของกระดูก
เตี้ย
ไม่สามารถป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้
ยาคุมกำเนิดมี 2 ชนิด
แบบชั่วคราว
ยาฉีดคุมกำเนิด
(Injectable Contraception)
แบบฮอร์โมนรวม
ฉีด 1เข็มทุก 1 เดือน
ระวังในหญิงตั้งครรภ์
ภาวะ masculinization ในทารกเพศหญิง
แบบฮอร์โมนเดี่ยว
ฉีด 1 เข็ม ทุก 3 เดือน
บริเวณ glutues
ข้อดี
เข้าสู่กระแสเลือดจะออกฤทธิ์ทันที และไม่เกิดการสะสมฮอร์โมน
ข้อเสีย
ต้องหยุดยา 9-12 เดือน จึงจะมีบุตรได้
กลไกการออกฤทธิ์
ป้องกันการตกไข่ และทำให้เยื่อบุโพรงมดลูกบางลง
ยาฝังคุมกำเนิด
(Contraceptive Implant)
ชนิด 1หลอด (Implanon)
คุมกำเนิดได้ 3 ปี
ชนิด 2 หลอด (Jadelle)
คุมกำเนิดได้ 5 ปี
ใช้โดยฝังเข้าไปใต้ชั้นผิวหนัง โดยเครื่องมือสอดยา แทงเข้าไปประมาณ 0.5 cm
กลไกการออกฤทธิ์
ฮอร์โมน
ค่อยๆเข้าสู่กระแสเลือด
ยับยั้งการตกไข่
ข้อดีและข้อเสีย
คุมกำเนิดได้นาน 3-5 ปี
สามารถให้นมบุตรได้ไม่อันตราย
มีฮอร์โมนที่เป็นผลกระทบต่อการเจริญเติบโต
ประจำเดือนมาไม่ปกติ
แผ่นยาคุมกำเนิดชนิดติดผิวหนัง
(Trandermal contraceptive patch)
แบบฮอร์โมนรวม
1 ชุดมี3แผ่น ติดสัปดาห์ละ 1แผ่น และเว้นไม่ติดในสัปดาห์ที่4 ของรอบเดือน
กลไกการออกฤทธิ์
ปล่อย estrogen & progesterone
เข้าสู่กระแสเลือด
ยับยั้งการตกไข่
ข้อดีและข้อเสีย
เหมาะแก่สตรีที่ลืมบ่อยๆ
ต้องติดต่อเนื่องกัน หากลืมเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์สูง
ห่วงคุมอนามัย
(Intrauterine contraceptive device : IUD)
ชนิดธรรมดา
ไม่มีสารเสริมประสิทธิภาพ
ชนิดมีสารช่วยเสริมประสิทธิภาพ
1.ชนิด multiload
2.ชนิด TCu 380A
3.ชนิดบรรจุฮอร์โมน progesterone
กลไกการออกฤทธิ์
กระตุ้นการสร้างเมือก
ไข่และอสุจิไม่สามารถเข้าไปผสมกันได้
ใส่เข้าทางปากมดลูก ตัวห่วงจะกางอยู่ในโพรงมดลูก
ข้อดีและข้อเสีย
มีอายุการใช้งาน 3-10 ปี
สามารถนำออกได้ตลอดเวลาแต่ต้องทำโดยแพทย์หรือพยาบาลที่ได้รับการฝึกแล้วเท่านั้น
เสี่ยงติดเชื้อใน3สัปดาห์แรก
ห่วงอาจจะหลุดมานอกมดลูก
ยาเม็ดคุมกำเนิด
(Oral contraceptive pills)
Monophasic
Estrogen&Progesterone เท่ากันทุกเม็ด
ใช้ได้ตั้งแต่วันที่ 1-2 ของรอบเดือน
Multiphasic
Estrogen & progesterone ไม่เท่ากัน
กินตามวันที่กำหนด ปรับขนาดยาเองไม่ได้
แบบฮอร์โมนรวม
แบบฮอร์โมนเดี่ยว
Progesterone
กินยาเรียงตามลำดับลูกศรจนกว่าจะหมดแผง เวลาเดิม ห้ามคลาดเคลื่อนเกิน 3 ชั่วโมง
ยาคุมฉุกเฉิน
แบบprogesterone
กินพร้อมกัน2เม็ดให้เร็วที่สุด ห้ามเกิน5วัน หลังมีเพศสัมพันธ์
แบบฮอร์โมนรวม
รับประทาน2ครั้ง ห่างครั้งละ 1 ชม. ภายใน
48-72 ชม.
กลไกการออกฤทธิ์
มีผลต่อ hypothalamus
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
รังไข่
Neuroendocrinal
feedback system
ไม่มี FSH และไม่เกิด LH
progesterone
เยื่อเมือกปากมดลูกขุ่นข้น
อสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกยาก
ข้อดีและข้อเสีย
หลังหยุดยา สามารถตั้งครรภ์ได้ภายใน 1 เดือน
ลดอาการปวดประจำเดือน
ต้องมีวินัยในการกินอย่างสม่ำเสมอ
หากใช้นานเกิน5ปีอาจเสี่ยงมะเร็งปากมดลูกได้
แบบถาวร
การทำหมันหญิง
ระยะหลังคลอด
หมันเปียก
ทำภายใน 24 - 72 ชั่วโมง
ระยะปกติ
หมันแห้ง
ทำ6สัปดาห์หลังคลอดเป็นต้นไป
ทำให้ท่อนำไข่ตีบตัน
ข้อดีและข้อเสีย
ไม่มีผลกระทบต่อรอบเดือนและเพศสัมพันธ์
เป็นการผ่าตัดอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
ทำหมันชาย
ตัดและผูกหลอดนำอสุจิ
หลังทำคุมกำเนิดด้วยวิธีอื่นร่วมด้วย เป็นเวลา3เดือน
ข้อดี
ทำง่ายกว่าหมันหญิง
ภาวะแทรกซ้อนน้อยกว่า
ฮอร์โมนเพศชายยังอยู่ครบถ้วน
ไม่มีผลต่อความรู้สึกทางเพศ
นางสาวบุญทิตา ช่วยสงค์
61104824