Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
image บทที่5 การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลแต่ละวัย - Coggle Diagram
บทที่5
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลแต่ละวัย
5.1 การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลวัยเด็กและวัยรุ่น
ประเทศไทย
ศาสนาอิสลาม
เชื่อว่าทุกคนเป็นบุตรของพระเจ้า มีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน
ลูกเป็นของขวัญจากองค์อัลลอฮ์ เป็นสิ่งที่มีคุณค่า
มารดาต้องดูแลบุตรตั้งแต่ในครรภ์จนถึงวัยผู้ใหญ่หรืออายุ 21 ปี
ดูแลเด็กให้เป็นคนดีของสังคม ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
ศาสนาคริสต์
เชื่อว่า
เด็กเป็นของขวัญจากพระเจ้า ต้องดูแลให้เติบโตในทางที่ดี
ต้องเข้าพิธีบัดติดมา เพื่อชำระบาปและประกาศตัวเป็นศานิกชน
นิกายนี้จะปฏิเสธการรับบริจาคเลือดแม้จะมีอันตรายถึงชีวิตก็ตาม
ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
บิดามารดาหรือผู้แทนโดยชอบธรรม การตัดสินใจเกี่ยวกับชีวิตและร่างกายของเด็ก
แพทย์สามดำเนินการรักษาได้จนกระทั่งเด็กบรรลุนิติภาวะ
ศาสนาพุทธ
เชื่อว่า
เพื่อให้เด็กมีสุขภาพดี เมื่ออายุครบ 1 เดือน
การโกนผมไฟ
พิธีการสู่ขวัญ
เมื่อเด็กไม่สบายหรืองอแง
ให้ผู้ใหญ่ผูกข้อมือให้
บางครอบครัวในพื้นที่อำเภอเมืองน่านและอำเภอกระนวน
พิธีสู่ขวัญให้กับเด็กเพื่อให้เด็กหยุดร้องอแงและอยู่ดีมีสุข
ถ้าเด็กร้องในช่วงอายุสองหรือสามเดือนก็จะมีการหาพ่อเกิดแม่เกิดให้กับเด็กโดยให้ผู้อาวุโสในชุมชนทำ
ความเชื่อในการดูแลเด็ก
ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คล้ายคลึงประเทศลาว
รักษาความเจ็บป่วยจากอำนาจเหนือธรรมชา
การสะเดาะห์เคราะห์ การผูกข้อมือเรียกขวัญ การบูชาบวงสรวง
เพื่อให้เกิดความหวังและกำลังใจในรายที่การเจ็บป่วยหาสาเหตุไม่ได้
รักษาตามอาการจากแพทย์พื้นบ้าน
สมุนไพร การประคบน้ำมัน
การรักษาแบบผสมผสาน
การสมุนไพรร่วมกับวิธีการรักษาอื่นๆเช่น การใช้น้ำมนต์ การผูกข้อมือ
อำนาจเหนือธรรมชาติหรือรักษาตามอาการจากแพทย์พื้นบ้านร่วมกับการรักษาจากแพทย์แผนปัจจุบัน
ปัจจุบัน
หากเด็กมีอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จะซื้อยาให้รับประทานเอง
อาการรุนแรงหรือเจ็บป่วยเรื้อรังจะไปใช้บริการจากโรงพยาบาล
ภาคเหนือ
จกคอละอ่อน
การที่แม่ช่าง (หมอตำแย) หรือหมอทำคลอดใช้นิ้วมือล้วงเข้าไปในลำคอของทารกแรกคลอด เพื่อล้วงเอาเสลด/เลือดที่ติดค้างออกมา
ถ้าไม่ทำเช่นนี้ เมื่อโตขึ้นเด็กคนนั้นจะป่วยเป็นโรคหืดหอบได้
น้ำนม
ถ้าเอาน้ำนมของคนทาที่ศีรษะของเด็กทารกที่มีผมบางทำให้ผมขึ้นดกหนา
เอาน้ำนมหยอดตาคนที่เป็นโรคตาแดง ก็จะหาย
เม่า
โรคในเด็กช่วงที่ยังกินนม
อาการคือ ผิวหนังบริเวณริมฝีปาก+ ลิ้น มีลักษณะพุพอง ทำให้เด็กรู้สึกแสบแล้วร้องไห้
การรักษา: พ่อแม่เด็กจะทำกรวยดอกไม้ เสียบไว้ข้างฝา/หลังคาเรือน ประมาณครึ่งวัน จึงนำกรวยดอกไม้นั้นมาทำพิธีเสกเป่าอีกครั้งหนึ่ง และทำอย่างนี้ทุก ๆ วัน จนกว่าเด็กจะหาย
รก
หลังคลอดหากรกไม่ออกตามมา
ให้ระวังว่ารกจะขึ้นปิดลิ้นปี่
1 more item...
ประเทศกัมพูชา
การเกิด
เป็นอันตรายทั้งต่อแม่และเด็ก หญิงตั้งครรภ์จึงต้องระวัง
สตรีที่ตายจากการคลอดบุตร เชื่อว่าเกิดจากการกระทำของปีศาจ
การเลี้ยงดู
เลี้ยงดูจนกว่าจะอายุประมาณ 2-4 ปี
เด็กอายุ 5 ขวบจะสามารถช่วยดูแลน้องๆได้
อายุ 7-8 ปี ส่วนใหญ่จะเริ่มไปโรงเรียนเ
อายุ 10 ขวบ เด็กหญิงจะเริ่มช่วยงานบ้านได้ ส่วนเด็กผู้ชายต้องช่วยงานในไร่นา
สังคม
วัยรุ่นมักจะจับกลุ่มในเพศเดียวกัน
เด็กผู้ชายบางคนบวชเป็นสามเณร
ในยุคก่อนคอมมิวนิสต์ พ่อแม่มีอำนาจปกครองจนกว่าบุตรจะแต่งงาน
การติดต่อระหว่างกลุ่มชนต่างอายุกัน จะต้องเลือกใช้คำพูดให้เหมาะสม
ทางการแพทย์
ให้การเคารพแพทย์เพราะถือว่าเป็นบุคคลที่อยู่ในชั้นที่สูงกว่าในสังคม เวลาผู้ป่วยคุยกับแพทย์จึงก้มหน้าไม่สบตา
ศีรษะเป็นส่วนที่สำคัญที่สุด ผู้ให้บริการด้านสุขภาพไม่ควรแตะศีรษะผู้ป่วยก่อนได้รับอนุญาตจากผู้ป่วยเองหรือจากบิดามารดาของผู้ป่วยเด็ก
ประเทศจีน
อดีต
ประเทศจีนจะมีนโยบาย “ลูกคนเดียว (One child policy)”
ต้องการมีลูกชายไว้สืบสกุลเพราะมีลูกได้เพียง1 คน
เพิ่มอัตรา การทำแท้ง / ฆ่าทารกเพศหญิง
อัตราการเกิดของทารกเพศชายต่อเพศหญิงเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
ปัจจุบัน
ปรับนโยบาย มีลูกคนที่ 2 ได้ เพื่อมุ่งหวังแก้ไขปัญหาประชากรในระยะยาว
พิธีการ
พิธีล้าง(เด็กเกิดครบสามวัน)
น้ำที่ใช้อาบมีชื่อเรียกว่า “ฉางโซ่วทัง” มีความหมายว่า น้ำอายุมั่นขวัญยืน
มีความพิถีพิถัน
การเลือกภาชนะ,น้ำ,ผู้ประกอบพิธี
ผู้ประกอบพิธี
หญิงวัยกลางคน/หญิงชราที่มีครอบครัวแล้ว
ส่วนผสมของน้ำ
แตกต่างกันตามความเชื่อในแต่ละท้องถิ่น
ชาวปักกิ่งในสมัยราชวงศ์ชิง
นำสมุนไพรจีนใส่ลงในน้ำ เพื่อเป็นการฆ่าเชื้อและอนามัยต่อสุขภาพของเด็ก
ชาวจีนบางกลุ่ม
ใส่ต้นหอมหรือนำเศษเหรียญใส่ลงในน้ำ เพราะต้นหอมหรือชงในภาษาจีนพ้องเสียงกับคำว่า “ชงหมิง” ที่แปลว่า ฉลาดหลักแหลม
หญิงที่มีบุตรยาก
เอาน้ำที่ได้หลังจากการอาบให้เด็กมาอาบตัว เชื่อว่าจะช่วยให้สามารถมีบุตรได้
พิธีครบเดือนหรือ เรียกว่า “หมีเย่ว์”
พิธีกรรมเกี่ยวกับการเกิดที่สำคัญที่สุด(โกนผมไฟ+จัดเลี้ยงในหมู่ญาติ มิตรสหาย + ตั้งชื่อให้เด็ก)
กรณีที่สมาชิกใหม่เป็นเด็กคนแรกในครอบครัวหรือเป็นเด็กที่เกิดเมื่อพ่อแม่อายุมาก
ผู้ที่จะโกนผมจะเอาใบชาที่อมจนเปื่อยในปากชโลมลงบนศีรษะเด็ก
เชื่อว่าใบชาเขียวจะช่วยฆ่าเชื้อโรคบนศีรษะทารกและลบรอยแผลเป็น และยังทำให้ผมดกดำ
เส้นผมที่โกนทิ้งจะไม่โยนทิ้ง แต่จะเก็บรวมกันและนำมาสานเป็นแผ่น แล้วจึงนำไปวางไว้หัวเตียงเด็กหรือเย็บติดกับเสื้อเด็ก
เพื่อปัดเป่าสิ่งชั่วร้ายและคุ้มครองให้แคล้วคลาดภยันตราย
อาของเด็กจะอุ้มเด็กให้นั่งตัวตรง เริ่มโกนผมพร้อมการจุดประทัด
เหลือเป็นรูปสี่เหลี่ยมบริเวณโคนหน้าผาก และตรงบริเวณท้ายทอยจะเหลือผมไว้หนึ่งปอย
การประยุกต์ใช้การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมในการดูแลเด็ก
ต้องตะหนักถึงความเชื่อ วัฒนธรรม ศาสนา
เข้าใจ+ยอมรับความเชื่อ วัฒนธรรม ศาสนา ของผู้รับบริการ
ป้องกันการเกิดความขัดแย้งจากความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมของผู้ใช้บริการ
ให้การพยาบาลได้อย่างสอดคล้องกับความเชื่อด้านสุขภาพ และวัฒนธรรมของผู้ใช้บริการ
1.ศึกษาวัฒนธรรมของผู้ป่วยและครอบครัว
ความเข้าใจ+ให้การพยาบาลที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม
ตัวอย่างคำถามเช่น “มีอะไรพิเศษที่เกี่ยวกับความเชื่อ ศาสนา และวัฒนธรรมของครอบครัว ที่ดิฉัน/ผม ควรได้รับทราบ เพื่อที่จะได้ให้การดูแลลูก/หลาน ของคุณได้อย่างเต็มที่ค่ะ”
การปฏิบัติพยาบาล
กระบวนการพยาบาล+ การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมตามแนวคิดไลนิงเจอร์
วางแผนการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาล
วินิจฉัยการพยาบาล
ะประเมินผลการพยาบาล
ประเมินปัญหา
3.การสื่อสาร
หากสื่อสารไม่ได้หรือไม่มีประสิทธิภาพ อาจสื่อสารผ่านญาติที่เป็นคนไทย หรือการใช้ล่าม
รูปภาพสื่อสารแทนภาษาพูด คู่มือหรือแนวทางการดูแลเด็กป่วยของครอบครัวที่เป็นภาษาต่างประเทศ
พัฒนาทักษะการสื่อสารกับเด็กตามพัฒนาการของเด็กรวมทั้งผู้ดูแลเด็กด้วยภาษาง่ายๆ
ตัวอย่างเรื่องการดูแลที่จำเป็นที่ควรแปลเป็นภาษาต่างประเทศคือการเช็ดตัวลดไข้ในเด็ก
5.3 การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลวัยผู้สูงอายุ
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมในผู้สูงอายุ
2) การสื่อสาร
การสื่อสารกับผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านความจำเสื่อม อัลไซม์เมอร์
ปัญหาด้านสายตาและการมองเห็นที่ลดน้อยลง จึงควรมองตรงๆ ที่ใบหน้าและการใช้สายตาเพื่อให้การสื่อการง่ายขึ้น
ขึ้น ใช้เสียงดังให้เหมาะสมกับความสามารถในการได้ยินด้วยและความสุภาพ
3) สุขภาพและยาที่ใช้
คำนึงถึงภาวะสุขภาพและโรคที่ผู้สูงอายุเป็นอยู่
ง่าย ยาสำหรับผู้สูงอายุที่เป็นพาร์คินสันและสมองเสื่อม
ต้องดูแลเรื่องการเคลื่อนไหวร่างกายและป้องกันอุบัติเหตุ
ผู้สูงอายุที่ปัญหาด้าน ความจำ การพูด พฤติกรรม ฟันปลอม
ใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน หรือ ล้อเข็น และผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการทำกายภาพบำบัด
1) การเคารพนับถือความเป็นบุคคลของผู้สูงอายุ
การเคารพในสัญชาติ ภูมิหลัง ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม
การเข้าใจถึงบุคลิกภาพหรือสิ่งที่ผู้สูงอายุชอบ
ให้ความสำคัญของรูปภาพของผู้สูงอายุและครอบครัว
ให้ผู้สูงอายุได้ใช้ของใช้ส่วนตัว
4) การจัดสิ่งแวดล้อมและป้องกันอุบัติเหตุ
ผู้สูงอายุที่มีภาวะแขนขาอ่อนแรง ควรจัดสถานที่ให้ปลอดภัยจากการพลัดตกหกล้ม มีสิ่งอำนวยความสะดวก เช่นติดราวที่ฝาผนัง ในห้องน้ำ
5) ความสามารถในการเคี้ยวและกลืน
ไม่ควรจัดอาหารที่เหนียวเกินไป แข็งเกินไป
ควรระวังเรื่องการสำลัก เนื่องจากผู้สูงอายุมักสำลักง่าย และอาจเกิดภาวะปอดบวมจากากรสำลักได้
6) การดูแลด้านจิตสังคม
ควรจัดกิจกรรมให้ผู้สูงอายุที่ยังมีสุขภาพดี ให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมสังคมต่างๆ
โรงเรียนผู้สูงอายุ
จัดกิจกรรมในบ้านพักสำหรับผู้สูงอายุ
การเป็นวิทยากรบรรยาย
เช่นเดียวกับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมในบุคคลวัยอื่นๆ
ประเด็นสำคัญที่ควรพิจารณาในการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลวัยผู้สูงอายุขึ้นกับ คุณค่า ความเชื่อ
แถบประเทศตะวันตก
ค่อนข้างจะให้ความสำคัญของการคำนึงถึงความเป็นบุคคลและการมีอิสระในการดำเนินชีวิตด้วยตนเองให้มากที่สุด
แถบตะวันออก
ความต้องการพึ่งพาลูกหลานและครอบครัวมากกว่า
ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยังต้องการความเคารพในการเป็นผู้สูงวัยหรือผู้นำในครอบครัว
ความสามารถในทางกายภาพ สิ่งแวดล้อม โครงสร้างทางสังคม การมีส่วนร่วมในสังคมและคุณค่าในสังคม
Mirabelle (2013) กล่าวถึงปัจจัยที่มีผลต่อการดูแลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลวัยผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่มีภูมิหลังหรือวัฒนธรรมแตกต่างกันเป็นปัจจัยที่สำคัญ
ต้องการส่วนตัวของผู้สูงอายุเองหรือเป็นการติดตามครอบครัว
การคัดเลือกบุคลากรที่จะมาดูแลผู้สูงอายุจึงต้องคัดเลือกผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่าง ไม่รังเกียจและไม่ดูถูกผู้สูงอายุที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน
5.2 การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลวัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่เริ่มตั้งแต่สิ้นสุดวัยรุ่นเมื่ออายุประมาณ 20-25 ปี และวัยรุ่นแต่งงานตั้งแต่อายุยังน้อย
รับผิดชอบการดำเนินชีวิตของตน
นำประสบการณ์ต่าง ๆที่ได้สะสมมาตั้งแต่วัยเด็กมาใช้ในการปรับตัวและแก้ปัญหาชีวิต
ผู้ใหญ่ที่ปรับตัวได้ดี
ผ่านพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย
มีวุฒิภาวะ คือ ความสมบูรณ์ของร่างกาย อารมณ์ และสติปัญญา
เผชิญชีวิตและอุปสรรค์ต่าง ๆ ทั้งยามปกติและยามคับขัน
มีความรับผิดชอบ กระทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยเหตุผลตามทำนองคลองธรรม
วัยผู้ใหญ่แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
2.วัยผู้ใหญ่ตอนกลางหรือวัยกลางคน (อายุ 40 ปีถึง 60-65 ปี
ผ่านชีวิตครอบครัวและชีวิตการงานมาระยะหนึ่ง
มีความมั่นคงและความสำเร็จในชีวิต
3.วัยผู้ใหญ่ตอนปลายหรือวัยสูงอายุ (อายุ 60-65 ปีขึ้นไป)
ความเสื่อมถอยของร่างกาย สภาพจิตใจ และบทบาททางสังคม
การปรับตัวต่อความเสื่อมถอยและการเผชิญชีวิตในบั้นปลายเป็นสิ่งสำคัญในการดำรงชีวิตของวัยนี้
1.วัยผู้ใหญ่ตอนต้นหรือวัยหนุ่มสาว (อายุ 20-25 ปีถึง 40 ปี )
เลือกแนวทางในการดำเนินชีวิตของตนในเรื่องอาชีพ คู่ครอง และความสัมพันธ์กับบุคคลต่าง ๆ
มีพัฒนาการเต็มที่ของร่างกาย วุฒิภาวะทางจิตใจอารมณ์ อย่างเต็มที่
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมในวัยผู้ใหญ่ที่นับถือศาสนาอิสลาม
ตัวชี้วัดด้านคุณภาพชีวิตที่สำคัญ คือ การมีสุขภาพดีที่เอื้อต่อการประกอบศาสนกิจในโอกาสต่างๆ ทั้งที่เป็นศาสนกิจภาคบังคับ และเพิ่มเติมอื่นๆ
ประเด็นการดูแลผู้ป่วยเพื่อให้สามารถประกอบศาสนกิจได้
เป็นประเด็นที่สำคัญอย่างยิ่งในการจัดบริการสุขภาพตามวิถีมุสลิมช่วงวัยผู้ใหญ่ที่ต้องคำนึงถึง "โดยเฉพาะขณะผู้ป่วยอยู่ในโรงพยาบาล"
ศาสนกิจที่สำคัญของชาวมุสลิม
การละหมาดวันละ 5 เวลา
การถือศีลอด
การทำฮัจญ์
การดูแลทำความสะอาดผู้ป่วยสามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถทำความสะอาดได้
ทำความสะอาดเท่าที่สามารถจะกระทำได้
การละหมาดของเขาก็ใช้ได้ โดยไม่ต้องละหมาดชดใช้อีก
ผู้ป่วยที่มีนะญิส (สิ่งสกปรกที่ต้องชำระให้สะอาดตามหลักนิติบัญญัติอิสลาม) ติดตัวอยู่ตลอดเวลา
แนะนำให้ผู้ป่วยทำความสะอาดบริเวณดังกล่าวตามปกติหรือตามคำแนะนำของแพทย์
การอาบน้ำละหมาดของเขานั้นไม่เสีย แต่เขาจะต้องอาบน้ำละหมาดหรือตะยัมมุม (การทำความสะอาดร่างกายด้วยฝุ่นแทนน้ำเพื่อเตรียมตัวละหมาด) ทุกครั้งก่อนที่จะละหมาดผู้ป่วยตราบใดที่ยังมีสติ ครบเงื่อนไขที่จำเป็นต้องละหมาด
จะต้องทำการละหมาดตามความสามารถของเขา ภายใต้การผ่อนปรนตามหลักการของศาสนา
ผู้ป่วยทั้งที่นอนรักษาตัวในโรงพยาบาลหรือที่บ้าน
เกรงว่าอัลลอฮ์ จะไม่ทรงตอบรับการละหมาด
ไม่ได้ผลบุญเพราะม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขดังกล่าวอย่างถูกต้องสมบูรณ์
การละหมาดสำหรับสำหรับผู้ป่วย
สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถปกปิดเอาเราะฮฺ์
ส่วนที่ละอายของร่างกายที่บทบัญญัติอิสลามได้กำหนดให้มุสลิมต้องปกปิด
เช่น มีบาดแผล แผลไฟไหม้ ถูกแมลงกัดต่อย และแผลอักเสบ
ผู้ป่วยจะรู้สึกปวดมากขึ้น หรือเป็นอุปสรรคมาก เมื่อสวมใส่เสื้อผ้า เขาสามารถละหมาดได้โดยไม่ต้องปกปิดเอาเราะฮ์ และการละหมาดของเขาใช้ได้ ไม่ต้องละหมาดชดใช้
สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถผินหน้าสู่กิบลัต (ทิศตะวันตก)
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวเองได้ ไม่มีผู้ใดช่วยเหลือเขา หรือผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียงที่มิได้หันไปทางกิบลัต ไม่มีผู้ใดช่วยเหลือเขา หรือการเปลี่ยนทิศทาง ทำให้เขาได้รับความเจ็บปวดมาก หรือทำให้อาการของโรคทรุดหนักลง หรือ ด้วยเหตุสุดวิสัยอื่นๆ
ละหมาดโดยไม่ต้องหันหน้าสู่กิบลัตได้
ผู้ป่วยที่สามารถทำความสะอาดได้
ทำความสะอาดตามปกติ ก่อนที่จะอาบน้ำละหมาดในแต่ละเวลา
ทำด้วยตนเอง หรือให้คนอื่นช่วย
สตรีตั้งครรภ์และหลังคลอดชนเผ่าม้ง ภาคเหนือ ประเทศไทย
หญิงตั้งครรภ์ชนเผ่าม้ง
ให้กินแกงผักพื้นบ้าน
ลักษณะลื่นๆ เพื่อจะทำ ให้ลูกคลอดไม่ลำบาก
ให้ดื่มนํ้ามะพร้าวเมื่ออายุครรภ์ได้ประมาณ 7-8 เดือน
จะทำ ให้ ลูกไม่มีไขคลอดง่ายและมีผิวสวย
คลอดที่บ้านเป็นส่วนใหญ่ เพราะความเชื่อ และ การปฏิบัติที่สืบต่อกันมานาน
(ปัจจุบันจะมีชาวเขาบางคนที่คลอดบุตรในโรงพยาบาลแต่ก็มีเป็นส่วนน้อย)
ข้อพึงปฏิบัติตามความเชื่อ
หัวปลาไหลแห้ง+ ผักปลังดิน+ ใบหนาด มามัดรวมกันแล้วแช่อาบนํ้าทุกวันในระยะท้องแก่ใกล้คลอด
ทำให้คลอดง่าย
ท้องแก่ใกล้คลอดให้เอานํ้ามันละหุง่ มาถูทาหน้าท้อง
ลูกเกิดมาจะได้ตัวสะอาด ไม่มีไข คลอดง่าย
การปฏิบัติตัว หญิงชนเผ่าม้ง หลังคลอด
ใช้ผ้ารัดหน้าท้องให้แน่นเพื่อไม่ให้ท้องโต
รับประทานประมาณ 30 วัน
ไข่+พริกไทย--->เพราะเชื่อว่าเป็นยาบำรุงร่างกายช่วยขับนํ้าคาวปลา และเลือดที่ค้างในร่างกาย
อยู่ไฟประมาณ 1 เดือน
ก่อกองไฟไว้ข้างที่นอนตลอดเวลา จะอาบนํ้าต้มตลอดช่วงที่อยู่ไฟ
ทำ ให้สุขภาพแม่ดี แข็งแรง และช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็ว
พิธีบนผีหรือทำ
คุ้มครองเด็กก่อนที่จะพาเด็กออกจากบ้านหรือเดินทางไปไหนไกลๆ
การปฏิบัติที่ทำให้มีนํ้านมมาก
เชิญหมอผีทำ พิธีเรียกนํ้านม ซึ่งจะทำคล้ายๆ การบนผี
กินยาสมุนไพรที่มียางสีขาว กินมะละกอต้มใส่ไก่
กินแป้งข้าวหมัก ซึ่งมีแอลกอฮอล์และอาจมีผลเสียต่อลูกได้
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมในวัยผู้ใหญ่ชาวจีน
แนวทางการดูแลผู้ใช้บริการ
พัฒนาทักษะการสื่อสารกับผู้ใช้บริการชาวจีนด้วยภาษาจีนง่ายๆ
สามารถสื่อสารกับผู้ใช้บริการได้อย่างราบรื่นและรวดเร็ว รวมทั้งเป็นประโยชน์ต่อการดูแลผู้ป่วยแบบ องค์รวม หากสื่อสารไม่ได้ อาจสื่อสารผ่านญาติ หรือใช้ล่ามแปล
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ให้เหมาะสมกับบริบทต่างๆเพื่อให้การดูแลที่มีความสอดคล้องกับวัฒนธรรม
การบูรณาการศาสตร์ทางการพยาบาลไปกับวัฒนธรรมของผู้ใช้บริการ
1การคงไว้ซึ่งแบบแผนของการดูแลเชิงวัฒนธรรมระบบพื้นบ้านและของวิชาชีพ
หญิงหลังคลอด
มีความเชื่อว่า ขิงช่วยขับลม บำรุงกระเพาะ ป้องกันโรคและมีอายุยืนยาว สุขภาพแข็งแรง
แนวปฏิบัตินี้ะเหมาะสมเพราะขิงมีสรรพคุณ:ทำให้นอนหลับสนิท แก้คลื่นไส้อาเจียน ระงับปวดต่อต้านเชื้อโรค
พยาบาลจึงไม่ต้องเปลี่ยนแปลงและยังคงให้ผู้ใช้บริการปฏิบัติได้ต่อไป
รับประทานไก่ผัดขิง
2 การปรับเข้าหากันระหว่างแบบแผนของการดูแลเชิงวัฒนธรรมของพื้นบ้านและของวิชาชีพ
หญิงหลังคลอด
เพื่อบำรุงร่างกายของมารดา
ความเชื่อนี้ต้องตัดสุราออกไป
ส่งผลให้เกิดความดันโลหิตสูงของมารดา หากให้นมลูก แอลกอฮอล์จะปนออกมากับน้านมแม่
การดื่มแอลกอฮอล์ 1 แก้วจะทำให้ปริมาณน้ำนมลดลงถึง 23 % และการดื่ม> 2 แก้ว อาจจะยับยั้งปฏิกิริยาน้ำนมพุ่งด้วย
รับประทานไก่ผัดขิงผสมสุรา
พยาบาลควรเสนอแนะให้มีการปรับเอาสุราออกจากอาหารของหญิงหลังคลอด
3 การปรับเปลี่ยนแบบแผนของวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาแบบแผนของการดูแลเชิงวัฒนธรรมขึ้นใหม่
หญิงหลังคลอด
ยังให้รับประทานปลาและหนังปลา -->ช่วยให้แผลหายเร็ว
หนึ่งเดือนหลังคลอด--->สวมหมวกให้ศีรษะอุ่น ใส่เสื้อผ้า และห่มผ้าห่มหนา ๆ
ให้ดื่มสุราวันละ 3 ครั้ง เพื่อให้เลือดไหลเวียนดี
มือและเท้าห้ามออกนอกผ้าห่ม ห้ามสระผม ห้ามอาบน้ำ
ห้ามล้างมือล้างเท้า ใช้การเช็ดตัวด้วยน้าร้อน แอลกอฮอล์ และเกลือแทน
กินอาหารรสร้อน เช่น ขิง กระเทียม โสม แครอท เห็ด เห็ดแห้ง หมู เป็ด ไก่ ไวท์ น้ามันงา พุทราจีน
ใช้น้ำอุ่นจัด ๆ แปรงฟัน และล้างหน้า
ให้ดื่มน้ำน้อยแต่ให้กินน้ำซุปเป็นหลัก
พยาบาลควรปรับเปลี่ยนแบบแผนการดูแลของหญิงหลังคลอดให้เหมาะสมกับภูมิอากาศปัจจุบัน
ให้ดื่มน้ำมากขึ้นและรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
ให้รักษาร่างกายให้อบอุ่น และอาบน้ำ สระผมได้เมื่อร่างกายมีเหงื่อไคล
ศึกษาวัฒนธรรมของชาวจีนในด้านต่างๆ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจและสามารถให้การพยาบาลสอดคล้องกับวัฒนธรรมของผู้ใช้บริการกลุ่มนี้ เช่น ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษา และความเชื่อ
ความเชื่อด้านสุขภาพของชาวจีน
ถ้าร่างกายแข็งแรงไม่จำเป็นต้องพบแพทย์
ไม่ค่อยสนใจการตรวจคัดกรองเพื่อการป้องกันโรค เช่น ตรวจร่างกายประจำปี ตรวจดูเลือดและเอ็กเรย์ปอด คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การใช้การรักษาดั้งเดิม
รักษาด้วยการแพทย์แผนจีน เช่น การฝังเข็ม
การขูดผิวหนังด้วยวัตถุใดๆ
การใช้สมุนไพรเพื่อการบำบัดโรค
อาจมีปฏิกิริยาต่อยารักษาของแพทย์แผนปัจจุบัน
อาจถูกอาหารบางชนิดรบกวนการออกฤทธิ์
ทั้งผลดีและผลไม่พึงประสงค์คล้ายกับการแพทย์แผนปัจจุบัน
ตัวอย่างเช่น โสมจีน มีความเชื่อว่า
มีฤทธิ์
ลดความเครียด เพิ่มภูมิคุ้มกันโรค และส่งเสริมความรู้สึกทางแพศ
อาการข้างคียง
กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง เพิ่มความดันเลือด หากได้รับปริมาณมากๆ อาจมีอาการปวดศีรษะ เบื่ออาหาร ใจสั่น