Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้าทางหลอดเลือดด้า เลือดและส่วนประกอบของเลือด, image, image,…
การให้สารน้าทางหลอดเลือดด้า เลือดและส่วนประกอบของเลือด
พยาบาลจะเป็นผู้ที่มีหน้าที่ปฏิบัติกิจกรรมดูแลผู้ป่วยให้ได้รับสารนำ้ทางหลอดเลือด
ดำส่วนปลายตามแผนการรักษา
อาการแสดงบ่งชี้ถึงความจำเป็นในการประเมินสารน้ำและอิเล็คโตรไลท์ในร่างกาย
ท้องเสีย อาเจียน เสียเลือดมาก
ทางเดินอาหารบิดหมุน ท้องอืด ภาวะอ่อนแรง
การให้สารนำ้ทางหลอดเลือด
รักษาภาวะสมดุลของนำ้และสารนำ้ในร่างกาย
ให้สารอาหาร วิตามิน
รักษาภาวะสมดุลของความเป็นกรด-ด่างในร่างกาย
รักษาภาวะสมดุลและปริมาตรของเลือดและส่วนประกอบของเลือด
ให้ยาฉีดบางชนิดเข้าทางหลอดเลือดดา
หลักการให้สารนำ้ทางหลอดเลือดดำ
การให้สารนำ้ทางหลอดเลือดด้าส่วนปลาย (Peripheral intravenous infusion)
Heparin lock หรือ Saline lock
Piggy back IV Administration
การให้สารนำ้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ (Central venous therapy)
การให้สารนำ้และสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
(Implanted vascular access device หรือ venous port)
ชนิดของสารนำ้ที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic
solution)
จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้านอกเซลล์
(Extracellular fluid)
สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 m0sm
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
เป็นสารนำ้ที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า
310 m0sm/l
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารนำ้
ระดับขวดสารนำ้สูงหรือต่าเกินไป
ความหนืดของสารนำ้
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
สายให้สารนำ้ มีความยาวมาก
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น
การให้สารน้ำ้ทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
1) เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
2) ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารนำ้ที่หลอดเลือดดาส่วนปลายของแขนก่อน
3) ตรวจสอบบริเวณตาแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
4) ถ้าจาเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้า
5) หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ
6)คำนึงถึงชนิดของสารนำ้ที่ให้ หากเป็นสารน้าชนิด Hypertonic
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ขวดสารนำ้ โดยขวดสารนำ้/ยา
2) ชุดให้สารนำ้ (IV Administration set)
3) เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดาส่วนปลาย (Peripheral insertion devices)
อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น เสาแขวนขวดให้สารนำ้ ยางรัดแขน (Tourniquet)
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารนำ้ทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
1) การบวมเนื่องจากสารน้าซึมออกนอก หลอดเลือดดา (Infiltration)
2) การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม (Extravasations)
3) การติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection)
4) หลอดเลือดดาอักเสบ (Phlebitis)
Grade 0 ไม่มีอาการ
Grade 1ผิวหนังบริเวณแทงเข็มแดง มีอาการปวดหรือไม่มีก็ได้
Grade 2 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมหรือไม่บวมก็ได้
Grade 3 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดงเป็นทาง คลาได้หลอดเลือดแข็งเป็นลา
Grade 4 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดงเป็นทาง คลาได้หลอดเลือดแข็งเป็นลา
ความยาวมากกว่า 1 นิ้ว มีหนอง
การพยาบาล
1) หยุดให้สารนำ้ จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
2) ประคบด้วยความร้อนเปียก
3) เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารนำ้ใหม่
4) รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
5) จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย เพื่อลดอาการบวม
6) ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
1) การแพ้ยาหรือสารน้าที่ได้รับ (Allergic reaction)
2) การติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia หรือ Septicemia)
3) เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด (Air embolism)
4) ให้สารน้าเร็วเกินและมากเกินไป (Circulatory overload)