Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 พรบ.วิชาชีพ - Coggle Diagram
บทที่ 4 พรบ.วิชาชีพ
ข้อบังคับสภาการพยาบาล พ.ศ.2553
ข้อ ๑. ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจํากัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่๒)
ข้อ ๒. ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓. ผ่านการอบรมหลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติทางตาที่สภาการพยาบาลให้การรับรอง และได้ขึ้นทะเบียนเป็นพยาบาลเวชปฏิบัติทางตากับสภาการพยาบาลให้กระทําการพยาบาลการคัดกรองผู้ป่วย การเจ็บป่วยทางตาฉุกเฉิน
ข้อ ๔.
การเขี่ยสิ่งแปลกปลอมออกจากตา
การวัดค่าสายตาผิดปกติ (Refraction) ด้วยเครื่องมือ retinoscope
การขูดหาเชื้อจากแผลกระจกตา
การวัดกำลังเลนส์แก้วตาเทียม
การล้างท่อน้ำตา
การเจาะตากุ้งยิง
ข้อ ๕
ตรวจวินิจฉัยและบําบัดรักษาโรคทางตาตามมาตรฐาน
การตรวจประเมินสภาพผู้ป่วยและสายตาโดยการซักประวัติ
การตรวจประเมินสภาพตาและสายตาการบันทึกผลการตรวจ
การตรวจประเมินภาวะฉุกเฉินทางตาที่ต้องให้การช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งต่อ
ข้อ ๖ ส่งต่อผู้ป่วยไปรับการบําบัดรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพอื่น เมื่อปรากฏ ตรวจพบ หรือเห็นว่าอาการไม่บรรเทา อาการรุนแรงเพิ่ม
ข้อ ๗ ในกรณีที่มีความจําเป็นต้องใช้ยา ให้ใช้ยาได้ตามที่สภาการพยาบาลกําหนด
ข้อ ๘ เขียนบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๒๘
หมวด ๑
สภาการพยาบาล
มาตรา ๖ ให้มีสภาการพยาบาล
มาตรา ๗ สภาการพยาบาลมีวัตถุประสงค์
ควบคุมความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ส่งเสริมการศึกษา การบริการ
และความก้าวหน้าในวิชาชีพการพยาบาล
ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก
ช่วยเหลือ แนะนำ เผยแพร่ และให้การศึกษาแก่ประชาชน
ให้คำปรึกษา หรือข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลเกี่ยวกับปัญหาการพยาบาล
ผดุงความเป็นธรรมและส่งเสริมสวัสดิการให้แก่สมาชิก
มาตรา ๘ หน้าที่สภาการพยาบาล
รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตวิชาชีพ
สั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอน
ให้ความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพการพยาบาล
รับรองหลักสูตรต่างๆ สำหรับการศึกษา
รับรองหลักสูตรต่างๆ สำหรับการฝึกอบรม
รับรองวิทยฐานะของสถาบัน
มาตรา ๙ สภาการพยาบาลอาจมีรายได้
เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญค่าบำรุง และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ
ผลประโยชน์จากกิจกรรมอื่นของสภาการพยาบาล
เงินและทรัพย์สินซึ่งมีผู้ให้
ดอกผลของเงินและทรัพย์สิน
หมวด ๒
สมาชิก
มาตรา ๑๑ มี 2 ประเภท
สมาชิกสามัญ
สมาชิกกิตติมศักดิ์
มาตรา ๑๒ สิทธิและหน้าที่
ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต
แสดงความเห็นเป็นหนังสือเกี่ยวกับกิจการ
เลือกตั้ง รับเลือกตั้ง
มาตรา ๑๓ สมาชิกภาพของสมาชิกสามัญสิ้นสุดลง
ตาย
ลาออก
ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๑
หมวด ๓
คณะกรรมการ
มาตรา ๑๔ ให้มีคณะกรรมการสภาการพยาบาล
มาตรา ๑๕ คณะกรรมการอาจแต่งตั้งสมาชิกกิตติมศักดิ์หรือสมาชิกสามัญเป็นกรรมการที่ปรึกษา
มาตรา ๑๖ ให้คณะกรรมการเลือกกรรมการเพื่อดำรงต่ำแหน่งนายกสภาการพยาบาล
มาตรา ๑๗ การเลือกต้งักรรมการตามมาตรา ๑๔ ,๑๕, ๑๖
มาตรา ๑๘ กรรมการนอกจากปลัดกระทรวงสาธารณสุขและกรรมการที่ปรึกษา
มาตรา ๑๙ ให้กรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งและรับเลือกต้ังมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี
มาตรา ๒๐ การพ้นจากต่ำแหน่งตามวาระ
มาตรา ๒๑ ให้คณะกรรมการเลือกสมาชิกสามัญผู้คุณสมบัติตามมาตรา ๑๘ เป็นกรรมการแทนภายใน 30 วัน
หมวด ๔ การดำเนินกิจการของคณะกรรมการ
มาตรา ๒๔ การประชุมคณะกรรมการต้องมีไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ นวนกรรมการทั้งหมด
มาตรา ๒๕ สภานายกพิเศษจะเข้าฟังการประชุม
มาตรา ๒๖ มติของที่ประชุมต้องได้รับความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษก่อน
หมวด ๕ การควบคุมการประกอบวิชาชีพ
มาตรา ๒๗ ห้ามมิให้ผู้ใดซึ่งมิได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล กระทำการพยาบาลหรือการผดุงครรภ์
มาตรา ๒๘ การขึ้นทะเบียน การออกใบอนุญาต เป็นไปตามข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา ๒๙ การขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตให้แบ่งเป็นสามประเภท คือ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์และผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรา ๓๐ ผู้มีสิทธิขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตต้องมีความรู้
มาตรา ๓๑ ผู้ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตต้องเป็นสมาชิกสามัญสภาการพยาบาล
มาตรา ๓๒ ต้องรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
มาตรา ๓๓ บุคคลผู้ซึ่งได้รับความเสียหายเพราะผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล มีสิทธิกล่าวหาผู้ก่อให้เกิดความเสียหายนั้น โดยทำเรื่องยื่นต่อสภาการพยาบาล
มาตรา ๓๔ เมื่อสภาการพยาบาลได้รับเรื่องการกล่าวหา ให้เลขาธิการเสนอเรื่องต่อประธานอนุกรรมการจริยธรรมโดยไม่ชักช้า
มาตรา ๓๕ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหาข้อเท็จจริงในเรื่องที่ได้รับตามมาตรา ๓๔
มาตรา ๓๖ เมื่อคณะกรรมการได้รับรายงาน ให้คณะกรรมการพิจารณารายงานและความเห็นดังกล่าว แล้วมีมติ
มาตรา ๓๘ ให้อนุกรรมการจริยธรรมและอนุกรรมการสอบสวนเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๓๙ ให้ประธานอนุกรรมการสอบสวนแจ้งข้อกล่าวหา
มาตรา ๔๐ เสนอสำนวนการสอบสวนพร้อมท้ังความเห็นต่อคณะกรรมการโดยไม่ชักช้าเพื่อวินิจฉัยชี้ขาด
มาตรา ๔๑ ให้คณะกรรมการพิจารณาสำนวนการสอบสวนและความเห็น
มาตรา ๔๒ ให้เลขาธิการแจ้งคำสั่งสภาการพยาบาลตามมาตรา ๔๑ ไปยังผู้ถูกกล่าวหา
มาตรา ๔๓ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๗ ห้ามมิให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
มาตรา ๔๔ ระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต ผู้ใดกระทำการฝ่าฝืน ให้คณะกรรมการสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา ๔๕ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตอาจขอรับใบอนุญาตอีกไดเ้มื่อพ้นสองปี
หมวด ๕ ทวิ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๔๕ ทวิ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าไปในสถานที่ เพื่อตรวจสอบใบอนุญาต ค้นหรือยึดเอกสารหลักฐาน
มาตรา ๔๕ ตรี แสดงบัตรประจำตัวพนักงาน
มาตรา ๔๕ จัตวา เจ้าพนักงานตามประมวล
กฎหมายอาญา
มาตรา ๔๕ เบญจ อำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน
หมวด ๖
บทกำหนดโทษ
มาตรา ๔๖ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๔๓ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา ๔๗ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๓๑ วรรคสาม ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
มาตรา ๔๘ ผู้ใดไม่มาให้ถ้อยคำ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
มาตรา ๔๘ ทวิ ผู้ใดไม่อำนวยความสะดวกแก่พนักงาน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
ข้อบังคับสภาการพยาบาล พ.ศ.2562
ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับสภาการพยาบาล ว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ ๓)
ข้อ ๒ ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ การเจาะเก็บตัวอย่างเลือด
การตรวจวิเคราะห์หรือการวินิจฉัยโรค
การวางแผนบำบัดหรือรักษาโรค
การประเมินภาวะสุขภาพของบุคคล
การบริจาคโลหิต
ข้อ ๔ การเจาะเก็บตัวอย่างเลือดต้องเป็นแนวปฏิบัติทางการพยาบาล
ข้อ ๕ การเจาะเก็บตัวอย่างเลือด ต้องเป็นการเจาะเก็บตัวอย่างเลือดจากเส้นเลือดฝอยปลายนิ้วหรือจากหลอดเลือดดำส่วนปลาย
ข้อ ๖ การเก็บตัวอย่างเลือดจากหลอดเลือดแดงหรือหลอดเลือดดำส่วนกลาง ตามแผนการรักษา ให้จัดเก็บจากสายได้เปิดไว้แล้ว
ข้อบังคับสภาการพยาบาล พ.ศ.2550
หมวด ๑
บททั่วไป
ข้อ ๔ ในบังคับ
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยวิกฤต
หมวด ๒ การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
การพยาบาล
ข้อ ๕ ให้กระทำการพยาบาลที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
ข้อ ๖ ให้ยาผู้ป่วยได้เฉพาะที่แพทย์สั่ง
ข้อ ๗ ห้ามให้ยา หรือสารละลายทางช่องเยื่อบุไขสันหลัง และห้ามให้ยาทางหลอดเลือดดำ
การทําหัตถการ
ข้อ ๘
การทําแผล การตกแต่งบาดแผล ทำในตำแหน่งไม่เป็นอันตรายต่ออวัยสำคัญ
การผ่าตัดเอาสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในตําแหน่งซึ่งไม่เป็น
อันตรายต่ออวัยวะสําคัญ
การล้างตา
ข้อ ๙
การใส่และถอดห่วง (IUD)
การฝังและถอดยาคุมกำเนิด (Nor Plant)
การเลาะก้อนใต้ผิวหนังบริเวณที่ไม่เป็นอันตราย
การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี VIA(Visual Inspection Using Acetic Acid)
การจี้ปากมดลูกด้วยความเย็น (Cryotherapy)
การผ่าตัดตาปลา
การรักษาโรคเบื้องต้น
ข้อ ๑๐ ให้กระทำการประกอบวิชาชีพการพยาบาลตามข้อกำหนดในการรักษาโรคเบื้องต้น และการให้ภูมิคุ้มกันโรคได้ จะต้องได้รับการศึกษา/อบรมตามหลักสูตร
ข้อ ๑๑ ต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลตามข้อกำหนดในการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
ข้อ ๑๒ ตรวจวินิจฉัยและบำบัดรักษาโรค ให้ผู้ป่วยไปรับการบำบัดรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพอื่น เมื่อปรากฎตรวจพบหรือเห็นว่าอาการไม่บรรเทา
ข้อ ๑๓ ถ้าจำเป็นต้องใช้ยาให้ใช้ยาได้ ตามคู่มือการใช้ยาที่สภาการพยาบาลกำหนด
ข้อ ๑๔ จะให้ภูมิคุ้มกันโรค ต้องปฏิบัติตามแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรคที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ข้อ ๑๕ ต้องบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของผู้ป่วย หรือผู้รับบริการ
หมวด ๓ การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
๑๖.ให้ยาผู้ป่วยได้เฉพาะที่แพทย์ ซึ่งเป็นผู้บำบัดโรคได้ระบุไว้ในแผนการรักษาพยาบาล
๑๗. ชั้นสอง จะทำการผดุงครรภ์ได้แต่เฉพาะรายที่มีครรภ์ปกติ
๑๘. ชั้นหนึ่งจะให้ยาผู้ป่วยได้เฉพาะที่แพทย์ ซี่งเป็นผู้บำบัดโรคได้ระบุไว้ในแผนการรักษาพยาบาล
๑๙. ชั้นหนึ่ง จะทำการผดุงครรภ์ได้แต่เฉพาะรายที่มีครรภ์ปกติและคลอดอย่างปกติ
๒๐. ชั้นหนึ่งและชั้นสอง จะต้องใช้ยาทำลายและป้องกันการติดเชื้อสำหรับหยอดตาหรือป้ายตาทารกเมื่อคลอดแล้วทันที
๒๑. ชั้นหนึ่งและชั้นสอง จะต้องบันทึกการรับฝากครรภ์และการทำคลอดทุกรายในสมุดบันทึกการผดุงครรภ์
ข้อบังคับสภาการพยาบาล พ.ศ.2550
หมวด ๑
บททั่วไป
ข้อ ๓ ผู้ประกอบวิชาชีพ
ข้อ ๔ ผู้ประกอบวิชาชีพ ย่อมดํารงตนให้สมควรในสังคมโดยธรรม
ข้อ ๕ ผู้ประกอบวิชาชีพ ย่อมประกอบวิชาชีพด้วยเจตนาดี
ข้อ ๖ ผู้ประกอบวิชาชีพ ย่อมไม่ประพฤติหรือกระทําการใด ๆ อันอาจเป็นเหตุให้เสื่อมเสีย
หมวด ๒ การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
การปฏิบัติต่อผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการ
ข้อ ๗ รักษามาตรฐานของวิชาชีพ
ข้อ ๘ ไม่จูงใจ หรือชักชวนผู้ใดให้มาใช้
บริการการพยาบาล เพื่อประโยชน์ส่วนตน
ข้อ ๙ ไม่เรียกร้องผลประโยชน์
ค่าตอบแทนจากการการรับส่ง
ข้อ ๑๐ ปฏิบัติต่อผู้ป่วยหรือผู้ใช้
บริการโดยสุภาพ
ข้อ ๑๑ ไม่หลอกลวงผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการ
ข้อ ๑๒ ไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่คํานึงถึงความปลอดภัย
ข้อ ๑๓ ไม่สั่งใช้หรือสนับสนุนการใช้ยาตำราลับ
ข้อ ๑๔ ไม่ออกใบรับรองเท็จโดยเจตนา
ข้อ ๑๕ ไม่เปิดเผยความลับผู้ป่วย
ข้อ ๑๖ ไม่ปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ที่อยู่ในระยะอันตรายจากการเจ็บป่วย
ข้อ ๑๗ ไม่ประกอบการในทางสาธารณะ
ข้อ ๑๘ ไม่สนับสนุนให้มีการประกอบวิชาชีพที่ผิดกฎหมาย
การปฏิบัติต่อผู้
ร่วมวิชาชีพ
ข้อ ๑๙ ยกย่องให้
เกียรติและเคารพในศักดิ์ศรี
ข้อ ๒๐ ไม่ทับถมให้ร้ายหรือกลั่นแกล้งกัน
ข้อ ๒๑ ไม่ชักจูงผู้ป่วยคนอื่นมาเป็นของตน
การปฏิบัติต่อผู้
ร่วมงาน
ข้อ ๒๒ ยกย่องให้
เกียรติและเคารพในศักดิ์ศรี
ข้อ ๒๓ ไม่ทับถมให้ร้ายหรือกลั่นแกล้งกัน
ข้อ ๒๔ ส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบวิชาชีพผู้ร่วมงาน
การศึกษาวิจัยและการทดลองต่อมนุษย์
ข้อ ๒๕ ได้รับการยินยอมจากผู้ถูกทดลอง
ข้อ ๒๖ ปฏิบัติต่อผู้ถูกทดลองเหมือนผู้ป่วย
ข้อ ๒๗ รับผิดชอบต่ออันตรายหรือความเสียหาย
ข้อ ๒๘ ได้รับการพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการด้านจริยธรรม
ข้อ ๒๙ ต้องปฏิบัติตามแนวทางจริยธรรม
หมวด ๓ การโฆษณาการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ข้อ ๓๐ ไม่โฆษณาการประกอบวิชาชีพพยาบาล
ข้อ ๓๑ แสดงผลงานวารสารทางวิชาการ
ข้อ ๓๒ แสดงข้อความเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพได้บางข้อความ
ข้อ ๓๓ อาจแจ้งความการประกอบวิชาชีพ
ข้อ ๓๔ ผู้ทำการเผยแพร่ต้องไม่เปิดเผยสภานที่ประกอบการ
ข้อ ๓๕ พึงระวังตามวิสัยที่พึงมี