Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ยาปฏิชีวนะกลุ่มต่างๆ ยาต้านมะเร็ง - Coggle Diagram
บทที่ 4 ยาปฏิชีวนะกลุ่มต่างๆ ยาต้านมะเร็ง
ยาต้านไวรัส ( Antiviral drugs)
ยาต้านไวรัส (Antiviral drugs) เป็นกลุ่มยาที่ใช้รักษาเฉพาะการติดเชื้อจากไวรัส เช่นเดียวกับยาปฏิชีวนะ ยาต้านไวรัสก็ใช้ได้กับไวรัสบางชนิดเท่านั้น
ยาต้านไวรัสที่ใช้ในการรักษาการติดเชื้อ Herpes simplex และ Varicellazoster ได้แก่ acyclovir, valacyclovir, famciclovir, penciclovir,trifluridine
ยาต้านไวรัสที่ใช้รักษาการติดเชื้อ Influenza ไช้หวัดใหญ่ เช่น
amantadine, oseltamivir และ zanamivir
ยาต้านรักษาโรคตับอักเสบ (hepatitis) เช่นinterfereon alpha, pegylated interferon alpha, ribavirin, lamivudine, adefovir
ยาที่ใช้รักษาโรคติดเชื้อ HIV แบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆได้3 กลุ่ม
Nucleoside reverse transcriptase inhibitors (NRTIs) ได้แก่ยำ Zidovudine(AZT), Stavudine (D4T), Lamivudine (3TC),DDC, DDI
Protease inhibitors (PIs) ได้แก่ยำ nelfinavir,
saquinavir, ritonavir, nelfinavir
Non-nucleoside reverse transcriptase inhibitors (NNRTIs)ได้แก่ยำ nevirapine,delavirdine
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drugs ) และยาต้านวัณโรค (Anti-TB)
ยาต้านวัณโรค
ยารักษาวัณโรคสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ยาอันดับแรก (First
line) และยาอันดับรอง (Second line)
ยาอันดับแรก
Isoniazid (ไอโซไนอะซิด)
• Rifampicin (ไรแฟมพิซิน)
• Pyrazinamide (ไพราซินาไมด์)
• Ethambutol (อีแทมบูทอล)
• Streptomycin (สเตร็ปโตมัยซิน)
ระบบยาที่แนะนำ
ระบบยาสำหรับผู้ป่วยที่ยังไม่เคยได้รับการ รักษามาก่อน (หรือไม่เกิน 1
เดือน) การให้ยาแบ่งได้เป็น 2 ระยะ ระยะเข้ม ข้น (intensive
phase) และระยะต่อเนื่อง(maintenance phase)
1.1 ผู้ป่วยใหม่ย้อมเสมหะพบเชื้อ
ยาต้านวัณโรคผลข้างเคียง
Isoniazid (ไอโซไนอะซิด) เกิดภาวะตับอักเสบ อาการชาตาม
ปลายประสาท
Rifampicin (ไรแฟมพิซิน) เกิดภาวะ น้ าตา น้ าลาย เสมหะ
เหงื่อ ปัสสาวะ และอุจจาระเป็นสีส้ม
3.Pyrazinamide (ไพราซินาไมด์) เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน
Ethambutol (อีแทมบูทอล) เกิดอาการประสาทตาอักเสบ
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุสมผล (Antibiotic Smart Use )
มีข้อบ่งชี้ • มีประสิทธิผล• ความปลอดภัยของผู้ป่วย• ขนาดยา ความถี่ วิธีการให้ยา ระยะเวลำที่ให้ยำเหมาะสม• ราคาเหมาะสม• ความสะดวก และการยอมรับของผู้ป่วย
เจ็บคอแบบไหนถึงให้ยาปฏิชีวนะ
ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะในโรคคอหอยอักเสบ/ต่อมทอนซิลอักเสบเฉียบพลันยกเว้นมีหลักฐานวินิจฉัยว่าติดเชื้อ GAS ( Centor criteria ) Group A Streptococcus
การใช้ยาปฏิชีวนะ
Amoxycillin 10 days
• เด็กเล็ก 50 mg/kg/day ( ไม่เกิน 1000 mg/day ) แบ่งให้วันละ 2-3 ครั้ง
กรณีแพ้ยา Penicillin
เด็กเล็ก: Erythromycin syr 40 mg/kg/day แบ่งให้วันละ 4 ครั้ง
Acute bacterial rhino sinusitis มีอาการข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ 1. อาการไข้หวัด ไซนัสอักเสบ ≥ 10 วัน 2. ไข้ ≥ 39⁰C ตั้งแต่เริ่มป่วย ร่วมกับน้ ามูกเหลือง-เขียวหรือเจ็บบริเวณไซนัส 3-4 วัน
Amoxycillin 5-10 days
• เด็กเล็ก 50 mg/kg/day ( ไม่เกิน 1000 mg/day ) แบ่งให้วันละ 3-4 ครั้ง กรณีแพ้ยา Penicillin
เด็กเล็ก: Erythromycin syr 40 mg/kg/day แบ่งให้วันละ 4 ครั้ง
Entameoba histolytica
Metronidazole
เด็ก: 35-50 mg/kg/day แบ่งให้วันละ 3ครั้ง นาน 7-10วัน พร้อมอาหาร
-วัยรุ่นและผู้ใหญ่: 500-750 mg วันละ 3ครั้ง
นาน 5-10วัน พร้อมอาหาร
Acute diarrhea
90% หายภายใน 3-4 วัน
กรณี food poisoning, Salmonella spp.
ATB ไม่ช่วยลดความรุนแรง
Fresh traumatic wound
Fresh traumatic wound = บาดแผลสดที่เกิดจากอุบัติเหตุภายใน 6ชั่วโมง• กรณีที่ต้องให้ ATB เมื่อมีลักษณะข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
-แผลขอบไม่เรียบ
-แผลยาวกว่า 5 cm
-แผลจากการถูกบด อัด
-แผลลึกถึงกล้ามเนื้อ เอ็น กระดูก
-ผู้ป่วยอายุ>60 ปี, DM, ตับแข็ง, มะเร็ง, ได้รับยากดภูมิ,
หลอดเลือดส่วนปลายตีบ
การใช้ยาสมเหตุผลใน HT
หลีกเลี่ยงการใช้ ACEIs ร่วมกับ ARBs• หลีกเลี่ยงการใช้ simvastatin ในขนาดเกินวันละ 20 mgเมื่อใช้ร่วมกับ Amlodipine
การใช้ยาสมเหตุผลใน DM type 2
ใช้ metformin เป็นยาชนิดแรกกรณีไม่มีข้อห้ามข้อห้ามการใช้ metformin
• -eGFR< 30
• -การท างานของตับ หัวใจ ปอด เสื่อมลง
• -ความดันโลหิตต่ำ
• หลีกเลี่ยงการใช้ glibenclamideในผู้มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดน้ำตาล
ต่ำ -อายุ > 65 ปี
-eGFR< 60
การใช้ยาสมเหตุผลในการรักษา Asthmainhale corticosteroid เป็นยาหลักในการควบคุมอาการ
• หากมีปัญหาการสูดพ่น แนะน าการใช้ space
การใช้ยา NSAIDs
ใช้ยา Paracetamol เป็นยาชนิดแรกเพื่อลดอาการปวด
• NSAIDs เป็นล าดับถัดไป ในกรณีที่อาการปวดไม่ดีขึ้น
• ใช้ NSAIDs ขนาดต่ าที่สุด ระยะเวลาสั้นที่สุด
• ไม่ใช้ NSAIDs ซ้ าซ้อน
• หลีกเลี่ยงการใช้ NSAIDs ในผู้ที่ eGFR< 30
• ไม่ควรให้ NSAIDs ระยะยาวในผู้ที่ eGFR< 60
การใช้ยาในผู้ป่วยสูงอายุ
ยาที่ควรหลีกเลี่ยง
• Glibenclamide
• Nifedipine SR
• Long acting BZD : diazepam,
chlordiazepoxide,dipotassiumchlorazepate
• TCA : amitriptyline
• Barbiturates : phenobarbital
• Pethidine
การใช้ยาในสตรีให้นมบุตร
พิจารณาความจ าเป็นที่ต้องใช้ยา โดยควรเลือกใช้ nonpharmacological treatment ก่อนเสมอ
• ยาที่ควรหลีกเลี่ยง : Ergots/Ergotamine, Amiodarone, ยากด
ภูมิคุ้มกัน
• ยาที่ควรใช้ด้วยความระมัดระวัง : metoclopramide,domperidone
การใช้ยาในผู้ป่วยเด็ก
ระมัดระวังการใช้ Paracetamol drop
• หลีกเลี่ยงการใช้ cough suppressant (ยากดไอ) :dextromethorphan, codeine, M.tussis
• หลีกเลี่ยงการใช้ non-sedating antihistamine ในเด็กเพื่อ ลดน้ำมูกในโรคหวัด