Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติที่ เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพ และสุขภาพของประชาชน - Coggle…
พระราชบัญญัติที่ เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพ และสุขภาพของประชาชน
พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
หมวด 2 การคุ้มครองผู้บริโภค
ส่วนที่ 2 การคุ้มครองผู้บริโภคในด้านฉลาก
มาตรา 30
สินค้าที่ผลิตเพื่อขายโดยโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานและสินค้าที่สั่งหรือนำเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อขาย เป็นสินค้าที่ควบคุมฉลาก
มาตรา 31
ลักษณะฉลากของสินค้าที่ควบคุมฉลาก
มาตรา 32
ข้อความของฉลากตามมาตรา 30
มาตรา 33
กรณีที่คณะกรรมการว่าด้วยฉลากเห็นว่าฉลากใดไม่เป็นไปตามมาตรา 31
มาตรา 34
กรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจผู้ใดสงสัยว่าฉลากของตนจะเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่เป็นไปตามมาตรา 31
ส่วนที่ 2 ทวิ การคุ้มครองผู้บริโภคในด้านสัญญา
มาตรา 35 จัตวา
เมื่อคณะกรรมการว่าด้วยสัญญากำหนดให้สัญญาของการประกอบธุรกิจที่ควบคุมสัญญาไม่ใช้ข้อสัญญาในตามมาตรา 35 ทวิ
มาตรา 35 เบญจ
ลักษณะของธุรกิจที่ควบคุมรายการในหลักฐานการรับเงินได้
มาตรา 35 ตรี
เมื่อคณะกรรมการว่าด้วยสัญญากำหนดให้สัญญาของการประกอบธุรกิจที่ควบคุมสัญญาใช้ข้อสัญญานั้นด้วยตามมาตรา 35 ทวิ
มาตรา 35 ฉ
หลักฐานการรับเงินของการประกอบธุรกิจที่ควบคุมรายการในหลักฐานการรับเงิน
มาตรา 35 ทวิ
การประกอบธุรกิจขายสินค้าหรือให้บริการ
มาตรา 35 สัตต
กรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจขายสินค้าหรือให้บริการโดยให้คำมั่นว่าจะทำสัญญารับประกันให้ไว้แก่ผู้บริโภค
มาตรา 35 อัฏฐ
หน้าที่ของผู้ประกอบธุรกิจ
มาตรา 35 นว
กรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจผู้ใดสงสัยว่าแบบสัญญาหรือแบบหลักฐานการรับเงินของตนจะเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้
ส่วนที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภคโดยประการอื่น
มาตรา 36
กรณีที่สงสัยว่าสินค้าใดอาจเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภค
มาตรา 39
กรณีที่คณะกรรมการเห็นสมควรเข้าดำเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค
มาตรา 40
สมาคมใดมีวัตถุประสงค์ในการคุ้มครองผู้บริโภคหรือต่อต้านการแข่งขันอันไม่เป็นธรรมทางการค้า
มาตรา 41
การดำเนินคดีที่เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค
มาตรา 42
สมาคมที่คณะกรรมการรับรองตามมาตรา 40ต้องปฏิบัติตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
ส่วนที่ 1 การคุ้มครองผู้บริโภคในด้านการโฆษณา
มาตรา 22
การโฆษณาต้องไม่ใช้ข้อความที่เป็นการไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค
มาตรา 23
การโฆษณาจะต้องไม่กระทำด้วยวิธีการอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ร่างกายหรือจิตใจ หรืออันอาจก่อให้เกิดความรำคาญแก่ผู้บริโภค
มาตรา 24
กรณีเห็นว่าสินค้าใดอาจเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภค
มาตรา 25
กรณีที่สินค้าหรือบริการใดผู้บริโภคจำเป็นต้องทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสภาพ ฐานะ และรายละเอียดอย่างอื่นเกี่ยวกับผู้ประกอบธุรกิจ
มาตรา 26
กรณีเห็นว่าสื่อโฆษณาใดสมควรแจ้งให้ผู้บริโภคทราบว่าข้อความนั้นเป็นข้อความที่มีความมุ่งหมายเพื่อการโฆษณา
มาตรา 27
กรณีเห็นว่าโฆษณาใดฝ่าฝืนมาตรา 22 มาตรา 23 มาตรา 24 (1) หรือมาตรา 25
มาตรา 28
กรณีเห็นว่าข้อความใดที่ใช้ในการโฆษณาเป็นเท็จหรือเกินความจริงตามมาตรา 22 วรรคสอง (1)
มาตรา 29
กรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจผู้ใดสงสัยว่าการโฆษณาของตนจะเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด 3 การอุทธรณ์
มาตรา 43
กรณีที่ผู้ได้รับคำสั่งของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องตามมาตรา 27 หรือมาตรา 28 วรรคสอง ไม่พอใจคำสั่ง
มาตรา 44
การอุทธรณ์ตามมาตรา 43
หมวด 1 คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา 9
องค์ประกอบของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา 10
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
มาตรา 11
วาระการดำรงตำแหน่งของกรรมการ
มาตรา 12
การพ้นจากตำแหน่งตามวาระตามมาตรา 11
มาตรา 13
การประชุมของคณะกรรมการ
มาตรา 14
กรรมการเฉพาะเรื่อง
มาตรา 15
คณะกรรมการและคณะกรรมการเฉพาะเรื่องจะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
มาตรา 16
การประชุมของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องและคณะอนุกรรมการ
มาตรา 17
อำนาจของคณะกรรมการและคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง
มาตรา 18
การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการหรือคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง
มาตรา 19
การจัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา 20
อำนาจหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
หมวด 4 บทกำหนดโทษ
มาตรา 54
โทษของผู้ที่รับจ้างทำฉลากที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย
มาตรา 55
โทษของผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 35
มาตรา 53
โทษของผู้ประกอบธุรกิจผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการว่าด้วยฉลากซึ่งสั่งตามมาตรา 33
มาตรา 56
โทษของผู้ประกอบธุรกิจผู้ใดขายสินค้าที่คณะกรรมการสั่งห้ามขาย
มาตรา 52
โทษของผู้ที่ขายสินค้าที่ควบคุมฉลาก โดยไม่มีฉลาก หรือมีแต่เป็นฉลากที่ไม่ถูกต้อง หรือขายสินค้าที่ฉลากถูกสั่งเลิกใช้ตามมาตรา 33
มาตรา 57
โทษของผู้ประกอบธุรกิจที่ไม่ส่งมอบสัญญาที่มีข้อสัญญาหรือมีข้อสัญญาและแบบถูกต้องตามมาตรา 35 ทวิ หรือไม่ส่งมอบหลักฐานการรับเงินที่มีรายการและข้อความถูกต้องตามมาตรา 35 เบญจ
มาตรา 51
การกระทำความผิดตามมาตรา 47 มาตรา 48มาตรา 49 หรือมาตรา 50 เป็นความผิดต่อเนื่อง
มาตรา 57 ทวิ
โทษของผู้ประกอบธุรกิจที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 35 สัตต
มาตรา 50
ถ้าการกระทำตามมาตรา 47 มาตรา 48 หรือมาตรา 49 เป็นการกระทำของเจ้าของสื่อ โฆษณาหรือผู้ประกอบกิจการ โฆษณา
มาตรา 58
โทษของผู้ที่ทำความผิดในสถานที่ประกอบธุรกิจของผู้ประกอบธุรกิจและการกระทำนั้นเป็นไปเพื่อประโยชน์ของผู้ประกอบธุรกิจ
มาตรา 49
โทษของผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาซึ่งสั่งตามมาตรา 27 หรือมาตรา 28 วรรคสอง
มาตรา 59
กรณีที่ผู้กระทำความผิดซึ่งต้องรับโทษตามพระราชบัญญัตินี้เป็นนิติบุคคล
มาตรา 48
โทษของผู้ที่โฆษณาโดยใช้ข้อความตามมาตรา 22 (3) หรือ (4)
มาตรา 60
โทษของผู้ที่เจตนาทุจริต ใช้ จ้าง วาน ยุยง หรือดำเนินการให้สมาคมที่คณะกรรมการรับรองตามมาตรา 40
มาตรา 47
โทษของผู้ที่เจตนาก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในแหล่งกำเนิด สภาพ คุณภาพ ปริมาณ หรือสาระสำคัญประการอื่นอันเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ
มาตรา 61
โทษของผู้ที่เปิดเผยข้อเท็จจริงใดเกี่ยวกับกิจการของผู้ประกอบธุรกิจอันเป็นข้อเท็จจริงที่ตามปกติวิสัยของผู้ประกอบธุรกิจจะพึงสงวนไว้ไม่เปิดเผย
มาตรา 46
โทษของผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการหรือคณะกรรมการเฉพาะเรื่องตามมาตรา 17
มาตรา 62
บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการมีอำนาจเปรียบเทียบได้
มาตรา 45
โทษของผู้ที่ขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวก ไม่ให้ถ้อยคำหรือไม่ส่งเอกสารหรือหลักฐานแก่พนักงานเจ้าหน้าที่
พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551
หมวด 4 การอุทธรณ
มาตรา 42
กรณีที่คณะกรรมการสถานบําบัดรักษามีคําสั่งตามมาตรา29 (1) หรือ (2) หรือมีคําสั่งให้ขยายระยะเวลาการบําบัดรักษา
มาตรา 43
องค์ประกอบของคณะกรรมการอุทธรณ
มาตรา 44
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการอุทธรณ
มาตรา 45
ให้นําความในมาตรา๖มาตรา๗มาตรา 8 มาตรา 9 และมาตรา 11 มาใช้บังคับกับคณะกรรมการอุทธรณ์โดยอนุโลม
หมวด 5 พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 46
อำนาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 47
พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจําตัวต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 48
การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 49
พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวด 3 การบําบัดรักษาทางสุขภาพจิต
ส่วนที่ 1 ผู้ป่วย
มาตรา 21
เงื่อนไขการบำบัดรักษา
มาตรา 22
บุคคลที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา
มาตรา 23
ผู้ที่พบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อันน่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีลักษณะตามมาตรา22
มาตรา 24
เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่พนักงานฝ่ายปกครองหรือตํารวจได้รับแจ้งตามมาตรา 23หรือพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อันน่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีลักษณะตามมาตรา22
มาตรา 25
เมื่อผู้รับผิดชอบดูแลสถานที่คุมขังหรือสถานสงเคราะห์พบบุคคลที่อยู่ในความดูแลรับผิดชอบมีพฤติการณ์ตามมาตรา 22
มาตรา 26
ในกรณีฉุกเฉินเมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่พนักงานฝ่ายปกครองหรือตํารวจได้รับแจ้งตามมาตรา23
มาตรา 27
การตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการเบื้องต้นบุคคลที่มีการนําส่งตามมาตรา 24 มาตรา 25 หรือมาตรา 26
มาตรา 28
กรณีที่แพทย์ตรวจพบว่าบุคคลใดมีลักษณะตามมาตรา๒๒
มาตรา 29
เมื่อสถานบําบัดรักษารับบุคคลที่พนักงานเจ้าหน้าที่นําส่งตามมาตรา๒๗วรรคสามหรือแพทย์นําส่งตามมาตรา 28
มาตรา 30
คําสั่งรับผู้ป่วยไว้บําบัดรักษาตามมาตรา29 (1)
มาตรา 31
กรณีที่ผู้ป่วยได้รับการบําบัดรักษาจนความผิดปกติทางจิตหายหรือทุเลาและผู้ป่วยไม่มีภาวะอันตรายแล้ว
มาตรา 32
กรณีที่ผู้ป่วยหรือผู้รับดูแลผู้ป่วยไม่ปฏิบัติตามมาตรา29 (2) หรือการบําบัดรักษาไม่เป็นผล
มาตรา 33
กรณีที่ผู้ป่วยหลบหนีออกนอกเขตสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบําบัดรักษา
มาตรา 34
เพื่อประโยชน์ในการบําบัดรักษาผู้ป่วย
ส่วนที่ 2 ผู้ป่วยคดี
มาตรา 35
ภายใต้บังคับมาตรา 14 วรรคหนึ่ง
มาตรา 36
ภายใต้บังคับมาตรา 14 วรรคสอง
มาตรา 37
กรณีที่ศาลมีคําสั่งให้ส่งผู้ป่วยคดีไปคุมตัวหรือรักษาไว้ในสถานพยาบาล
มาตรา 38
เมื่อจิตแพทย์ผู้บําบัดรักษาเห็นว่าผู้ป่วยคดีได้รับการบําบัดรักษาจนความผิดปกติทางจิตหายหรือทุเลาและไม่มีภาวะอันตรายแล้ว
มาตรา 39
กรณีที่ศาลกําหนดเงื่อนไขตามมาตรา 56 วรรคสอง (4)
ส่วนที่ 3 การฟื้นฟูสมรรถภาพ
มาตรา 40
กรณีที่คณะกรรมการสถานบําบัดรักษามีคําสั่งตามมาตรา29 (2)
มาตรา 41
เมื่อผู้ถูกคุมขังซึ่งได้รับการบําบัดรักษาในระหว่างถูกคุมขังถึงกําหนดปล่อยตัว
หมวด 2 สิทธิผู้ป่วย
มาตรา 15
สิทธิของผู้ป่วย
มาตรา 16
ห้ามมิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วย
กรณีที่สามารถเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วยได้
มาตรา 17
กรณีที่สามารถผูกมัดร่างกาย กักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วยได้
การบําบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วยจะกระทําไม่ได
มาตรา 18
กรณีที่สามารถรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้าได้
มาตรา 19
การทําหมันผู้ป่วยจะกระทําไม่ได้
กรณีที่สามารถทําหมันผู้ป่วยได้
มาตรา 20
การวิจัยใดๆที่กระทําต่อผู้ป่วย
หมวด 6 บทกําหนดโทษ
มาตรา 50
โทษของผู้ที่ฝ่าฝืนมาตรา16
มาตรา 51
โทษของผู้ที่แจ้งข้อความอันเป็นเท็จต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 52
โทษของผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามหนังสือของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา46(3) โดยไม่มีเหตุอันสมควร
มาตรา 53
ไม่อํานวยความสะดวกตามสมควรแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่
หมวด 1 คณะกรรมการ
ส่วนที่ 1 คณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
มาตรา 5
องค์ประกอบของคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
มาตรา 6
คุณสมบัติของกรรมการตามมาตรา 5
มาตรา 7
วาระการดํารงตําแหน่งของกรรมการตามมาตรา 5
มาตรา 8
การพ้นจากตําแหน่งตามวาระกรรมการตามมาตรา 5
มาตรา 9
การประชุมของคณะกรรมการ
มาตรา 10
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
มาตรา 11
คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งที่ปรึกษาหรือคณะอนุกรรมการ
ส่วนที่ 2 คณะกรรมการสถานบําบัดรักษา
มาตรา 12
สิ่งที่สถานบําบัดรักษาต้องมี
มาตรา 13
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสถานบําบัดรักษา
มาตรา 14
ให้นําความในมาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 8 มาตรา 9 และมาตรา 11 มาใช้บังคับกับคณะกรรมการสถานบําบัดรักษาโดยอนุโลม