Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
8 Common Gastrointestinal Problems - Coggle Diagram
8 Common Gastrointestinal Problems
การวินิจฉัยแยกโรค (Differential diagnosis)
กลุ่มอาการปวดท้อง (abdominal pain)
สาเหตุทางด้านศัลยกรรม (Surgical Disorder)
ทําให้เกิดการปวดท้อง แบบเฉียบพลัน แยกชนิด ตามพยาธิสภาพได้ดังนี้
อาการอักเสบ (inflammation) เช่น appendicitis, cholecystitis, and pancreatitis
การอุดตัน (Obstruction) เช่น intestinal obstruction, Biliary colic, Ureteric colic, acute retention of urine
การทะลุของอวัยวะภายในช่องท้อง (Perforation) เช่น perforated peptic ulcer, appendix, diverticular diseases, ruptured abdominal aortic aneurysm (AAA)
สาเหตุทางด้านอายุรกรรม (Medical disorder)
ที่ทําให้เกิดการปวดท้องเฉียบพลัน แบ่งตาม พยาธิสภาพได้ดังนี้
ความผิดปกติของหัวใจ (Cardiovascular) เช่น Myocardial infarction
ความผิดปกติเกี่ยวกับทางเดินอาหาร (Gastrointestinal Tract Disease) เช่น Severe Gastritis, Gastroenteritis, Primary peritonitis
ความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ (Genitourinary Tract System) เช่น Urinary tract infection, Pyelonephritis
ส
าเหตุทางด้านนรีเวช ( Gynecological disorder)
ทําให้เกิดการปวดท้องเฉียบพลันได้แก่
Ectopic pregnancy
Ovarian cyst with complication (rupture, infection)
Pelvic inflammatory disease (PID)
Endometriosis
โรคที่พบบ่อยในผู้ป่วยที่มีอาการปวดท้อง (abdominal pain)
Dyspepsia
ปวดแสบร้อน ไม่สบาย ท้อง อาหารไม่ย่อย อืดแน่นท้องหลังมื้อ อาหาร อิ่มเร็วกว่า ปกติ
Epigastricตรวจร่างกายมีอาการกดเจ็บเล็กน้อยepigastrium
ทันทีหลังรับประทานอาหารที่ระคายเคืองกระเพาะอาหาร
Gastritis /gastric ulcer
ปวดแสบร้อน ไม่สบาย ท้อง จุกเสียด แนนท้อง ทองอืด
อาหารที่ระคายเคือง กระเพาะอาหาร ทันทีหลังรับประทาน อาหารจะมีอาการ ปวด 1⁄2 -2 ชม.
Duodenal ulcer
ปวดแสบร้อน ไม่สบาย ท้อง จุกเสียด แนนท้อง ทองอืด
-มีอาการปวด หลังจากรับประทาน อาหารประมาณ 1-3 ชั่วโมง
-ปวดเมื่อท้องว่าง
-ปวดตอนกลางคืน
Gastroesophageal reflux disease (GERD)
ปวดแสบร้อนที่บริเวณ ลิ้นปหรือ บริเวณกลาง ทรวงอก เรอเปรี้ยว หลังรับประทานอาหารแล้วนอน
Cholecystitis / Gall bladder disease
ปวดเจ็บ ปวดบิด ปวด
เกร็ง
ปวด 3-4 ชั่วโมง หลัง อาหาร
ปวดบริเวณชาย โครงขวา ลิ้นป ปวดราวไปใต สะบักขวา murphy’s sign ใหผลบวก
Pancreatitis
ปวดท้องรุนแรงใต้ลิ้นปี่และชายโครง หลังการดื่มแอลกอ
ฮอลมาก
ปวดร้าวไปที่หลังปวดตลอดเวลา
Appendicitis
ปวดท้องเป็นพักๆ รอบๆ สะดือ และย้าย มาปวดที่ท้องน้อย ด้านขวา ปวดเสียดท้อง
rebound tenderness at McBurney’s point หนาทอง เกร็ง เสียงลําไส ลดลง
Peritonitis
ปวดท้องรุนแรง นอนนิ่งๆ เพื่อลดอาการปวดลดลง
หน้าท้องแข็งเกร็ง(guarding)reboundtenderness
Intestinal / colon obstruction
ปวดเจ็บ ปวดบิดเป็น พักๆ ปวดเกร็ง อาการ รุนแรง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ (Investigation)
Complete blood count (CBC)
Liver function test (LFT) การทํางานของตับ
liver enzyme เช่น ALT (SGOT), AST (SGPT) มีค่าสูงมากกว่าปกติในผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับตับ ตับอ่อน และทางเดินน้ําดี
serum bilirubin มีค่าสูงมากกว่าปกติในผู้ที่มีการอุดกั้นของทางเดินน้ําดี
HBsAg, Anti-HBs
เพื่อตรวจหา Viral hepatitis B
Serum amylase, serum lipase
มีค่าสูงมากกว่าปกติพบในผู้ที่มีการอักเสบของตับอ่อนอย่าง เฉียบพลัน (acute pancreatitis)
Urinalysis (UA)
เพื่อยืนยันว่าอาการปวดท้องที่มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ (urinary tract infection, UTI) ซึ่งมักพบ WBC ในปัสสาวะ หรือเกิดจากนิ่วในทางเดินปัสสาวะ (urinary tract stone/calculi) ซึ่งมักจะตรวจพบ RBC ในปัสสาวะ แต่ทั้งนี้ต้องถามเพิ่มในผู้ป่วยหญิงว่ากําลังมี ประจําเดือนหรือไม่ (ในปัสสาวะจะมี RBC)
Stool examination
ส่งตรวจเพื่อดูว่ามีความผิดปกติเช่น มีเม็ดเลือดแดง หรือ เม็ดเลือดขาวปน ในอุจจาระหรือไม่ มีพยาธิหรือไม่ และก
ารตรวจอุจจาระ Fecal (stool) occult blood test
จะส่งอุจจาระ ตรวจเพื่อวินิจฉัยภาวะเลือดออกในระบบทางเดินอาหาร เช่น ในผู้ป่วย peptic ulcer, gastritis, colon cancer, polyps, หรือ hemorrhoid ที่สงสัยการมีเลือดออกในทางเดินอาหาร ถ้าผล positive หมายถึงมี เลือดออก
Electrolyte
เป็นเกลือแรในรางกาย อาจพบต่ําลงในกรณีที่เบื่ออาหาร คลื่นไส อาเจียน ทองเสีย
Beta-HCG
ส่งตรวจในรายที่สงสัยว่าอาจตั้งครรภ์โดยส่งตรวจ urine pregnancy test (UPT)
X-Ray: Plain abdomen
การตรวจเอกซเรย์ท้อง ทั้ง supine และ upright position เพื่อช่วย วินิจฉัยลําไส้อุดตัน โดยแพทย์จะพิจารณาจาก air pattern หรือลมที่มีลักษณะผิดปกติไปในลําไส้ และยังช่วย วินิจฉัยกระเพาะอาหารทะลุ (Peptic ulcer perforation) ซึ่งจะพบ free air เป็นลมที่อยู่นอกลําไส้
Ultrasonography การตรวจอัลตร้าซาวด์
อาจทําในผู้ป่วยที่มาด้วยอาการปวดท้องเฉียบพลัน ดู ปริมาณน้ําในช่องท้อง การอักเสบ ก้อนในช่องท้อง และสามารถช่วยวินิจฉัย acute cholecystitis, biliary obstruction, aortic aneurysm, และ ovarian cyst
เอกซเรย์ทรวงอก (chest X-Ray)
เพื่อดูพยาธิสภาพของปอด ตรวจว่ามีลม (free air) เนื่องจาก กระเพาะและลําไส้ทะลุหรือไม่ และยังใช้วินิจฉัยแยกจากโรคทางปอด
Esophagogastroduodenoscopy (EGD)
(ส่งต่อผู้ป่วยไปทําในโรงพยาบาลที่มีแพทย์เฉพาะ ทาง) เป็นการตรวจดูทางเดินอาหารตั้งแต่หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร และลําไส้เล็กส่วนต้นเพื่อดูพยาธิ สภาพต่าง ๆ เช่น เนื้องอก เส้นเลือดขอด การอักเสบ การเป็นแผลของผนังเยื่อบุกระเพาะอาหารและลําไส้
กลุ่มอาการ ไม่สบายท้อง หรืออาหารไม่ย่อย (Dyspepsia)
Functional dyspepsia
เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุด แต่การวินิจฉัยนี้ได้เมื่อผลจากการส่อง
กล้องตรวจทางเดินอาหารอยู่ในเกณฑ์ปกติหรืออาจพบว่ามีรอยแดงเล็กน้อย จะวินิจฉัยโดยผู้ป่วย มีอาการอย่างน้อย 1 อาการดังต่อไปนี้
อาการจุกเสียดแน่นหลังมื้ออาหาร
อิ่มเร็วกว่าปกติ
อาการปวดบริเวณลิ้นปี่
อาการแสบร้อนบริเวณลิ้นปี่
H. pylori-associated dyspepsia
ผู้ป่วยที่พบมักมีเพียงรอยแดงเล็กน้อยจากการส่องกล้อง ทางเดินอาหารส่วนบน และพบว่ามีการติดเชื้อ H. Pylori
แผลในกระเพาะอาหาร (peptic ulcer, PU หรือ gastric ulcer, GU) หรือ แผลที่ดูโอดีนัม (duodenal ulcer, DU)
อาการเหมือน functional dyspepsia พบแผลจากการส่องกล้องตรวจทางเดิน อาหาร หรือมีลักษณะทางคลินิกจากภาวะแทรกซ้อน เช่น เลือดออกอาจพบโลหิตจาง และอุจจาระดํา (melena)
มะเร็งกระเพาะอาหาร (gastric cancer)
พบได้ไม่บ่อย ควรนึกถึงภาวะนี้ในกรณีของผู้สูงอายุ หรือผู้ที่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน หรือมีน้ําหนักลดร่วมด้วย
กลุ่มอาการอุจจาระร่วงและท้องผูก (diarrhea and constipation)
อุจจาระร่วงจากการติดเชื้อไวรัส (Viral Gastroenteritis)
เกิดจากการติดเชื้อไวรัส โดย การรับประทานอาหารหรือน้ําที่ปนเปื้อนเชื้อ ไอ การจามรดกัน ถ้าติดเชื้อเฉียบพลันในเด็กอายุน้อยกว่า 3 ปี ได้แก่ ติดเชื้อโรต้าไวรัส (Rotavirus) อาการปวดท้อง และอาเจียนนํามาก่อน จากนั้นมีถ่ายเหลวเป็นน้ําตามมา มักมีไข้สูงร่วมด้วย บางรายอาจมีอาการไข้หวัดร่วมด้วย บางรายเป็นมากอาจจะมีภาวะขาดน้ํารุนแรง
กลุ่มอาการลําไส้ไวต่อสิ่งเร้า (Irritable bowel syndrome)
เป็นความผิดปกติของการ ทํางานของลําไส้ใหญ่ มีความสัมพันธ์กับอารมณ์และจิตใจของผู้ป่วย เช่น เครียด กังวล ทําให้ลําไส้ใหญ่มีการ เคลื่อนไหวผิดปกติทําให้ปวดท้อง ท้องเสีย ได้ง่าย
โรคบิด (Dysentery)
บิดไม่มีตัว (Bacillary dysentery / Shigellosis) โดยการรับประทานอาหารหรือน้ําที่ปนเปื้อนเชื้อจากอุจจาระผู้ป่วยหรือผู้ที่เป็นพาหะ ผู้ป่วยมักมีอาการปวดท้องรอบสะดือ ต่อมามีอาการปวดบิด มีไข้สูง ถ่ายอุจจาระเป็นน้ําประมาณ 1-2 วัน เมื่อ อาการรุนแรงขึ้น จะมีอาการปวดเบ่งที่ก้น ถ่ายมีมูกหรือมูกเลือด กระปริบกระปรอย อาจพบมีอาการคลื่นไส้
โรคบิดมีตัว (Amebic dysentery / Amebiasis) สาเหตุจากเชื้อ entamoeba histolytica ติดต่อสู่ผู้อื่นโดยผ่านทางอุจจาระผู้ป่วย เช่นเดียวกันกับบิดไม่มีตัว ผู้ป่วยอาจเป็นพาหะได้นานถึง หลายเดือนหรือเป็นปีมีอาการถ่ายเหลวกระปริบกระปรอยทีละน้อย สลับท้องผูก ปวดท้องและปวดหน่วงที่ก้น ไม่มีไข้ อุจจาระมีกลิ่นเหม็นเหมือนหัวกุ้งเน่า และอาจพบมูกเลือดได้มากกว่าบิดไม่มีตัว
อาหารเป็นพิษ (Food poisoning)
มีอาการถ่ายอุจจาระเป็นน้ําและปวดมวนท้องรุนแรงเป็นส่วนใหญ่ บางครั้งมีคลื่นไส้ อาเจียน เป็นไข้และปวดศีรษะ บางครั้งมีอาการคล้ายเป็นบิด ถ่ายอุจจาระปนเลือดหรือเป็น มูก และมีจํานวนเม็ดเลือดขาวสูง วิธีติดต่อ โดยการกินอาหารทะเลที่ดิบหรืออาหารที่ปรุงไม่สุกพอ หรือกิน อาหารอื่นที่มีการปนเปื้อนอาหาร โดยมีระยะฟักตัว ปกติ 12-24 ชั่วโมง หรืออยู่อาจในช่วง 4-30 ชั่วโมง
กลุ่มอาการคลื่นไส้อาเจียน (Nausea and Vomiting)
โรคระบบทางเดินอาหาร
โรคลําไส้อุดตัน เช่น ช่องระบายกระเพาะอาหารอุดตัน (gastric Outlet obstruction) และโรคลําไส้เล็กอุดตัน (small bowel obstruction)
การเคลื่อนไหวของระบบทางเดินอาหารผิดปกติ เช่น อัมพาตของกระเพาะอาหาร ลําไส้เล็ก อุดตันเรื้อรัง อาหารไม่ย่อยโดยไม่ทราบสาเหตุ Functional dyspepsia
โรคอื่นๆ เช่น ไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลัน (Acute appendicitis) ถุงน้ําดีอักเสบเฉียบพลัน (Acute cholecystitis) ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน (Acute pancreatitis) ตับอักเสบเฉียบพลัน (Acute hepatitis) หรือ มีมะเร็งกระจายในช่องท้อง (Metastasis cancer)
โ
รคทางระบบประสาทเช่นความดันในโพรงสมองสูง
เนื่องจากเนื้องอก หรือเลือดออกปวดศีรษะไม เกรน กลุ่มอาการเวียนศีรษะ (Dizziness)
ความผิดปกติของเมตาบอลิซึมและต่อมไร้ท่อที่ผิดปกติ
เช่น เบาหวานต่อมไทรอยด์ทํางานต่ําผิดปกติโซเดียมในร่างกายต่ํา การตั้งครรภ์เป็นต้น
การติดเชื้อ
เช่น กระเพาะและลําไส้อักเสบ acute gastroenteritis
เกิดจากยา
ที่พบบ่อยได้แก่ aspirin, NSAIDS, metformin, Anti TB drug, chemotherapy
drug, และ opioids
สาเหตุอื่นๆ
ได้แก่ ความเครียด ความกลัว ความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทานอาหาร
หรือการดื่มแอลกอฮอล์
กลุ่มอาการดีซ่าน/ ตัวเหลืองตาเหลือง (Jaundice)
Hemolytic jaundice
ผู้ป่วยมักมีอาการอ่อนเพลียเหนื่อยง่ายจากภาวะโลหิตจาง ปัสสาวะมีสี ผิดปกติเนื่องจากบิลิรูบินที่เพิ่มมากขึ้น โดยปัสสาวะอาจมีสีน้ําล้างเนื้อหรือสีน้ําปลาได้อุจจาระสีปกติตรวจ ร่างกายพบภาวะดีซ่านเพียงเล็กน้อย อาจตรวจพบตับหรือม้ามโตได้ในผู้ป่วยที่มีโรคเลือด ในHemolytic jaundice ผู้ป่วยมีอาการดีซ่านร่วมกับภาวะโลหิตจาง
Hepatocellular jaundice
เป็นการถูกรบกวนการขับ bilirubin ชนิด conjugated ออกจาก เซลล์ตับและท่อทางเดินน้ําดีสาเหตุเกิดจากเซลล์ตับถูกทําลาย ทําให้การขับ bilirubin ไปยังท่อน้ําดีลดลง โดยสาเหตุที่ทําให้เซลล์ตับถูกทําลาย ได้แก่
โรคตับอักเสบจากการติดเชื้อไวรัส เช่น โรคไวรัสตับอักเสบ Viral hepatitis A, B, C
การดื่มแอลกอฮอล์ปริมาณมากและเป็นเวลานาน
ยารักษาโรคต่างๆ รวมถึงยา สมุนไพร
Cholestatic jaundice
เกิดจาก bilirubin ชนิด conjugated ไม่สามารถลงสู่ลําไส้ได้ตามปกติ
ผู้ป่วยมีดีซ่านเป็นลักษณะเด่นทางคลินิก และอาจมีอาการคันตามตัว ซึ่งเกิดจากการคั่ง ของเกลือน้ําดีในร่างกาย ปัสสาวะมีสีเหลืองเข้มมากหรือสีน้ําตาล อุจจาระสีเทาหรือซีด
โรคในกลุ่มอาการนี้ที่พบบ่อย
โรคนิ่วในถึงน้ําดี (gall stone)
อาจมีอาการคล้ายท้องอืด อาหารไม่ย่อย (dyspepsia) บริเวณเหนือสะดือ เรอ คลื่นไส้อาเจียน มักเป็นหลังรับประทานอาหารมัน บางรายอาจปวดบิด รุนแรงเป็นพักๆ (biliary colic) บริเวณใต้ลิ้นปี่หรือตรงใต้สะบักขวา หรือมีดีซ่านร่วมด้วย
ถุงน้ําดีอักเสบ (Acute cholecystitis)
ผู้ป่วยจะมีอาการปวดท้องรุนแรง ร้าวไปบริเวณ subscapular area อาการปวดจะเป็นแบบ intermittent และตามมา ด้วยอาการของปวดแบบ colic ในกรณีที่เป็น acute cholecystitis จะมีไข้ ร่วมกับ leukocytosis เมื่อตรวจ ร่างกายจะพบ Murphy’s sign positive