Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถานการณ์ที่ 6 การปรับบทบาทมารดาบิดา, นางสาวกนกวรรณ ศรีชุม 61100103 -…
สถานการณ์ที่ 6 การปรับบทบาทมารดาบิดา
มารดาหลังคลอดบุตรคนแรกไม่ทราบว่าตนจะต้องเลี้ยงดูบุตรอย่างไรรู้สึกหงุดหงิดสามีอยากช่วยแต่ไม่ทราบว่าต้องเลี้ยงดูบุตรและภรรยาอย่างไร
1.ให้คำแนะนำมารดาหลังคลอด
1.Taking in phase (ระยะพึ่งพา)
เนื่องจากมารดารู้สึกหงุดหงิดเป็นพฤติกรรมของมารดาหลังคลอดอาจเกิดจากการเข้าสู่บทบาทการเป็นมารดาในระยะที่ 1 คือ taking in phase ซึ่งเป็นระยะ 1-2 วันจะแสดงอาการหลังคลอดโดยจะมีอาการอ่อนล้าไม่สุขสบายจากการปวดมดลูกคัดตึงเต้านมเดินไม่ได้ในช่วงแรกและหงุดหงิดเพราะช่วยเหลือตัวเองได้น้อย
2.ให้การพยาบาลด้วยท่าทีที่เห็นใจเข้าใจความรู้สึกและเปิดให้มารดาของทารกได้มีโอกาสระบายความรู้สึก
3.อธิบายให้สามีได้ทราบการเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์จากการคลอดบุตรใน 2-3 วันแรกเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนลดลงอย่างรวดเร็วจึงทำให้มารดาหลังคลอดมีโอกาสเป็นซึมเศร้าหงุดหงิดง่ายอารมณ์เปลี่ยนแปลงได้ง่าย
1.ให้คุณแม่หลังคลอดได้พักผ่อนอย่างเต็มที่พร้อมทั้งผู้ดูแลให้การช่วยเหลือทางด้านร่างกายและจิตใจ
2.Taking hold phase(ระยะกึ่งพึ่งพา)
ระยะพึ่งพาตั้งแต่วันที่ 3 ถึงวันที่ 10 หลังคลอดในระยะนี้มารดาจะสามารถช่วยเหลือตัวเองได้มากขึ้นเนื่องจากมารดารู้สึกสบาย แข็งแรงขึ้นและสนใจที่จะดูแลทารกมากขึ้นดังนั้นช่วงนี้จึงเหมาะสมที่พยาบาลจะให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการดูแลทารก
แนะนำการดูแลตนเองและทารกได้ถูกต้อง
เช่น การดูแลรักษาเต้านมและหัวนมเช็ดทำความสะอาดหลังให้นมบุตรทุกครั้งด้วยน้ำต้มสุก
2.สอนหรือสาธิตวิธีในการดูแลทารกเพื่อให้มารดาได้มีเวลาพักผ่อน
3.แนะนำหนังสือหรือตำราเอกสารที่สามารถช่วยให้มารดาและสมาชิกครอบครัวมีส่วนร่วมในการช่วยดูแลเด็กทารก
3.Letting go phase(ระยะพึ่งตนเอง)
ระยะที่แสดงบทบาทได้ดีระยะนี้เริ่มตั้งแต่วันที่ 10 หลังคลอดเป็นต้นไปมารดามีอิสระในการดูแลทารกมากขึ้น
1.แนะนำให้มารดาตระหนักในหน้าที่เลี้ยงดูบุตรเอง
2.แนะนำให้มารดาให้นมบุตรด้วยน้ำนมแม่จนกว่าอายุจะครบ 6 เดือน
การให้คำแนะนำกับสามี
พูดคุยกับภรรยาให้เกิดความเข้าใจในการเรียนรู้บุตรในอนาคต
สนับสนุนให้สามีพูดให้กำลังใจเพื่อให้มารดาหลังคลอดมีความมั่นใจและมีการปรับบทบาทสู่การเป็นมารดา
อธิบายให้สามีเข้าใจความรู้สึกและการเปลี่ยนแปลงอารมณ์ของมารดาหลังคลอด
ให้สามีเข้ามามีบทบาทในการดูแลทารกร่วมกับภรรยาเพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ของมารดาหลังคลอด
1.กล้ามเนื้อหน้าท้องหย่อนยานไม่กระชับเข้ารูปเหมือนเก่า
2.น้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นจากการตั้งครรภ์ทำให้รูปร่างไม่เหมือนเดิม
3.การวิตกกังวลว่าลักษณะรูปทรงของตัวเองจะกลับสู่สภาพเหมือนตอนไม่ตั้งครรภ์หรือไม่
นางสาวกนกวรรณ ศรีชุม 61100103