Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลแต่ละวัย - Coggle Diagram
การการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลแต่ละวัย
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลวัยเด็กและวัยรุ่น
ประเทศไทย
ความเชื่อในการดูแลเด็ก
น้ำนม เชื่อว่า ถ้าเอาน้ำนมของคนทาที่ศีรษะ จะทำให้ผมขึ้นดกหนา
จกคอละอ่อน คือการที่แม่ช่าง (หมอตำแย)
เม่า เป็นโรคที่เกิดขึ้นกับเด็กทารกในช่วงที่ยังกินนม พ่อแม่เด็กจะทำกรวยดอกไม้ จากนั้นจะนำกรวยไปเสียบไว้ข้างฝา
รก ในสมัยก่อนต้องให้หมอเวทมนตร์มาเสกคาถาสะเดาะ เคราะห์ใส่น้ำให้แม่เด็กดื่มเพื่อบังคับรกให้ออก
ประเทศกัมพูชา
การเคารพแพทย์เพราะถือว่าเป็นบุคคลที่อยู่ในชั้นที่สูงกว่าในสังคม เวลาผู้ป่วยคุยกับ แพทย์จึงก้มหน้าไม่สบตา
ศีรษะเป็นส่วนที่สำคัญที่สุด ผู้ให้บริการด้านสุขภาพไม่ ควรแตะศีรษะผู้ป่วยก่อนได้รับอนุญาตจากผู้ป่วยเองหรือจากบิดามารดาของผู้ป่วยเด็ก
ประเทศจีน
“หมีเย่ว์” ถือเป็นพิธีกรรมที่สำคัญที่สุดในบรรดาพิธีกรรม เกี่ยวกับการเกิด ประกอบไปด้วยการโกนผมไฟ การจัดเลี้ยงในหมู่ญาติสนิทมิตรสหาย และการตั้งชื่อให้เด็ก
การประยุกต์ใช้การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมในการดูแลเด็ก
ศึกษาวัฒนธรรมของผู้ป่วยและครอบครัวในด้านต่างๆ
พัฒนาทักษะการสื่อสารกับเด็กตามพัฒนาการของเด็กรวมทั้งผู้ดูแลเด็กด้วยภาษาง่ายๆ
หากสื่อสารไม่ได้หรือไม่มีประสิทธิภาพ
อาจทำรูปภาพสื่อสารแทนภาษาพูด
การปฏิบัติพยาบาลควรใช้กระบวนการพยาบาลควบคู่กับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมตาม แนวคิดไลนิงเจอร์
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลวัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
1.วัยผู้ใหญ่ตอนต้นหรือวัยหนุ่มสาว อายุ 20-25 ปีถึง 40 ปี
2.วัยผู้ใหญ่ตอนกลางหรือวัยกลางคน อายุ 40 ปีถึง 60-65 ปี
3.วัยผู้ใหญ่ตอนปลายหรือวัยสูงอายุ อายุ 60-65 ปีขึ้นไป
วัยผู้ใหญ่ที่นับถือศาสนาอิสลาม
ผู้ป่วยที่สามารถทำความสะอาดได้
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถทำความสะอาดได้
ผู้ป่วยที่มีนะญิส (สิ่งสกปรกที่ต้องชำระให้สะอาดตามหลักนิติบัญญัติอิสลาม)
วัยผู้ใหญ่ชาวจีน
ถ้าร่างกายแข็งแรงไม่จำเป็นต้องพบแพทย์
การใช้การรักษาดั้งเดิม (Traditional treatments) ชาวจีนนิยมการรกัษาด้วยการแพทย์แผนจีน
การใช้สมุนไพรเพื่อการบำบัดโรค
แนวทางการดูแลผู้ใช้บริการ
ศึกษาวัฒนธรรมของชาวจีนในด้านต่างๆ
พัฒนาทักษะการสื่อสารกับผู้ใช้บริการชาวจีนด้วยภาษาจีนง่ายๆ
เลือกใช้วิธีการพยาบาลบนพื้นฐานของการบูรณาการศาสตร์ทางการพยาบาล
การคงไว้ซึ่งแบบแผนของการดูแลเชิงวัฒนธรรมระบบพื้นบ้านและของวิชาชีพ
การปรับเข้าหากันระหว่างแบบแผนของการดูแลเชิงวัฒนธรรมของพนื้บ้านและของ วิชาชีพ
การปรับเปลี่ยนแบบแผนของวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาแบบแผนของการดูแลเชิงวัฒนธรรม ขึ้นใหม่
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลวัยผู้สูงอายุ
1) การเคารพนับถือความเป็นบุคคลของผู้สูงอายุ
2) การสื่อสาร ควรใช้ภาษาที่ตรงกับภาษาที่ผู้สูงอายุสามารถสื่อสารได้
3) สุขภาพและยาที่ใช้ ควรคำนึงถึงภาวะสุขภาพและโรคที่ผู้สูงอายุเป็นอยู่
4) การจัดสิ่งแวดล้อมและป้องกันอุบัติเหตุ
5) ความสามารถในการเคี้ยวและกลืน ไม่ควรจัดอาหารที่เหนียวเกินไป แข็งเกินไป
6) การดูแลด้านจิตสังคม ควรจัดกิจกรรมให้ผู้สูงอายุที่ยังมีสุขภาพดี
7) การดูแลด้านจิตวิญญาณตามความเชื่อของผู้สูงอายุ