Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฏหมายอาญาสำหรับพยาบาลและการกระทำความผิดที่พบบ่อย, นางสาวกัญญาพัชร โตสกุล…
กฏหมายอาญาสำหรับพยาบาลและการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ประเภทของความรับผิดทางอาญา
1.ความผิดต่อแผ่นดิน
เป็นความผิดที่ร้ายแรงมีผลกระทบต่อผู้เสียหายและสังคมส่วนรวม
2.ความผืดต่อส่วนตัว
เป็นความผิดที่ไม่ร้ายแรง มีผลกระทบต่อผู้เสียหายฝ่ายเดียวและกฎหมายบัญญัติประเภทไว้ชัดเจน
ลักษณะสำคัญของความรับผิดทางอาญา
2.ต้องตีความเคร่งครัดตามอักษา
3.ำม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ
1.ต้องบัญญัติความผิด และกำหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
2.กฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นคงามผิดและกำหนดโทษ
3.กระทำโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา
การกระทำโดยเจตนา
การกระทำโดยประมาท
วิสัย
ลักษณะที่เป็นอยู่ของบุคคลผู้กระทำ
พฤติการณ์
ข้อเท็จจริงประกอบการกระทำหรือเหตุภายนอกของผู้กระทำ
การกระทำโดยไม่เจตนา
1.การกระทำ
4.เหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญา
4.1เหตุยกเว้นความรับผิด
การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้เสียหายยินยอมให้กระทำ
4.2เหตุยกเว้นโทษ
การกระทำผิดเพราะความบกพร่องทางจิต
การกระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน
กระทำด้วยความจำเป็น
การกระทำของเด็กอายุไม่เกิน 10 ปี
การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
4.3เหตุลดหย่อนโทษ
การกระทำโดยบันดาลโทสะ
เหตุอื่นๆ ในการลดหย่อนหรือบรรเทาโทษ
การกระทำความผิดโดยไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิด
5.อายุความ
5.1อายุความฟ้องคดีทั่วไป
5.2อายุความฟ้องคดีความผิดอันยอมความได้
โทษทางอาญา
2.โทษจำคุก
3.โทษกักขัง
1.โทษประหารชีวิต
โทษปรับ
5.โทษริบทรัพย์สิน
ลหุโทษ
การทำงานเพื่อบริการสังคม
ความรับผิดทางอาญาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาล
1.ความประมาทในการประกอบวิชสชีพ
4.ความบกพร่องด้านการบันทึก
3.ความบกพร่องด้านการสื่อสาร
5.ความบกพร่องด้านการประเมินและเฝ้าระวังอาการ
6.ความบกพร่องด้ารการไม่พิทักษ์สิทธิของผู้ป่วย
2.เครื่องมือ/อุปกรณ์การแพทย์ไม่ถูกต้อง
1.ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
2.การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย
.3.การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย
4.การปฎิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต
5.ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร
5.1ความผิดฐานปลอมเอกสาร
5.2ความผิดฐานทำหรือรับรองเอกสารเท็จ
6.การทำให้หญิงแท้งลูก
6.1การทำให้ตนเองแท้งลูก
6.2การทำให้หญิงแท้งลูกโดบเสียหายไม่ยินยอม
6.3การทำให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสีบยหายไม่ยินยอม
6.4การพยายามทำให้หญิงแท้งลูก
6.5การทำให้หญิงแท้งที่ถูกกฎหมาย
ประมวลกฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 2 บุคคลต้องรับโทษในทางอาญาต่อเมื่อได้กระทำการอันกฎหมายที่ใช้ในขณะการทำนั้นบัญญัติเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้ และโทษที่จะลงแก่ผู้กระทำความผิดนั้นต้องเป็นโทษที่บัญญัติไว้ในกฎหมาย
มาตรา 18 โทษสำหรับลงแก่ผู้กระทำความผิด
1.ประหารชีวิต
2.จำคุก
3.กักขัง
4.ปรับ
5.ริบทรัพย์สิน
มาตรา 19 ผู้ใดต้องโทษประหารให้ดำเนินการด้วยวิธีฉีดยาหรือสารพิษให้ตาย
มาตรา 23 ผู้ใดกระทำความผิดซึ่งมีโทษจำคุก และในคดีนั้นศาลจะลงโทษจำคุกไม่เกินสามเดือน ถ้าไม่ปรากฏว่าผู้นั้นได้รับโทษจำคุกมาก่อน แต่เป็นเป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ ศาลจะพิพากษาให้ลงโทษกักขังไม่เกินสามเดือนแทนโทษจำคุกนั้นก็ได้
มาตรา 28 ผู้ใดต้องโทษปรับ ผู้นั้นจะต้องชำระเงินตามจำนวนที่กำหนดไว้ในคำพิพากษาต่อศาล
มาตรา 29 ผู้ใด้ต้องโทษปรับและไม่ำระค่าปรับภายในสามสิบวันนับแต่วัที่ศาลพิพากษา ผู้นั้นจะต้องถูกยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียดร้องในทรัพย์สินเพื่อใช้ค่าปรับ หรือมิฉะนั้นจะต้องถูกกักขังแทนค่าปรับ
มาตรา 30 ในการกักขังแทนค่าปรับ ให้ถืออัตราห้าร้อยบาทต่อหนึ่งวัน และไม่ว่ากรณีความผิดกระทงเดียวหรือหลายกระทง ห้ามกักขังเกินกำหนดหนึ่งปี เว้นแต่ในกรณีที่ศาลพิพากษาให้ปรับตั้งแต่สองแสนบาทขึ้นไป ศาลจะสั่งให้กักขังแทนค่าปรับเป็นระยะเวลาเกินกว่าหนึ่งปีแต่ไม่เกินสองปีก็ได้
มาตรา 32 ทรัพย์สินใดที่กฎหมายบัญญัติไว้ว่า ผู้ใดทำหรือมีไว้เป็นความผิด ให้ริบเสียทั้งสิ้นไม่ว่าเป็นของผู้กระทำความผิด และมีผู้ถูกลงโทษตามคำพิพากษาหรือไม่
มาตรา 33 ในการริบทรัพย์สิน นอกจากศาลจะมีอำนาจริบตามกฎหมายที่บัญยัติไว้โดยเฉพาะแล้ว ให้ศาลมีอำนาจสั่งให้ริบทรัพย์สิร
มาตรา 37 ถ้าผู้ที่ศาลสั่งให้ส่งทรัพย์สินที่ริบไม่ส่ภายในเวลาที่กำหนด ให้ศาลมีอำนาจสั่งต่อไปนี้
2.ให้ชำระราคาหรือสั่งยึดทรพย์สินของผู้นั้นชดใช้ราคาจนเต็ม
3.ในกรณีที่ศาลเห็นว่า ผู้นั้นจะส่งทรัพย์สินที่สั่งให้ส่งได้ แต่ไม่ส่ง หรือชำระราคาทรัพย์สินนั้นได้แต่ไม่ชำระ ให้ศาลมีอำนาจกัขังผู้นั้นไว้จนกว่าจะปฏิบัติตามคำสั่ง แต่ไม่เกิน1ปี
1.ให้ยึดทรัพย์สิน
มาตรา 64 บุคคลจะแก้ตัวว่าไม่รู้กฎหมายเพื่อพ้นจากความรับผิดในทางอาญาไม่ได้ แต่ถ้าศาลเห็นว่า ตามสภาพและพฤติการณ์ ผู้กระทำความผิดอาจจะไม่รู้กฎหมายบัญญติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิด ศาลจอาจอนุญาตให้แสดงพยานหลักฐานต่อศาล
มาตรา 65 ผู้ใดกระทำผิดในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบ หรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เพราะมีจิตบกพร่อง โรคจิตหรือจิตฟั่นเฟือน ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษสำหรับความผิดนั้น
มาตรา 68 ผู้ใดจำเป็นต้องกระทำการใดเป็นเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่นให้พ้นภยันตรายซึ่งงเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง ถ้าได้กระทำพอสมควรแก่เหตุ การกำทำนั้นเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้นั้นไม่มีความผิด
มาตรา 70 ผู้ใดกระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน แม้คำสั่งนั้นมิชอบด้วยกฎหมาย ถ้าผู้กระทำมีหน้าที่หรือเชื่อโดยสุจริตว่ามีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ เว้นแต่จะรู้ว่าคำสั่งนั้นเป็นคำสั่งซึ่งมิชอบด้วยกฎหมาย
มาตรา 72 ผู้ใดบันดาลโทสะโดยถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรม จึงกระทำความผิดต่อผู้ข่มเหงในขณะนั้น ศาลจะโทษผู้นั้นน้อยกว่าที่กฎหมาบกำหนดไว้สำหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้
นางสาวกัญญาพัชร โตสกุล 6001211344 61A