Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์, นางสาวกัญญาพัชร…
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
องค์ประกอบของนิติกรรม
2.การกระทำโดยเจตนา
การแสดงเจตนาโดยชัดเเจ้ง
การแสดงเจตนาโดยปรยาย
3.การกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย
1.ผู้กระทำต้องแสดงออกในฐานะที่เป็นเอกชน
4.ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวสิทธิ
ประเภทของนิติกรรม
2.นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามการมีผลของนิติกรรม
นิติกรรมที่มีผลขณะผู็แสดงเจตนาไม่มีชีวิต
นิติกรรมที่มีผลขณะผู็แสดงเจตนายังมีชีวิต
3.นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามค่าตอบแทน
นิติกรรมที่มีค่าตอบแทน
นิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน
1.นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามจำนวนคู่กรณี
นิติกรรมหลายฝ่าย
นิติกรรมฝ่ายเดียว
ความสามารถของบุคคลในการให้การยินยอมรักษาพยาบาล
ความสามารถของบุคคล
ถ้าบุคคลบรรลุนิติภาวะ กฎหมายถือว่าบุคคลมีวุฒิภาวะในการตัดสินใจกระทำสิ่งต่างๆ
บุคคล
1.บุคคลธรรมดา
การสาบสูญ
การตายโดยธรรมชาติ
2.นิติบุคคล
บุคคลบางประเภทที่กฎหมายจำกัดสิทธิในการทำนิติกรรม
2.คนไร้ความสามารถ
บุคคลวิกลจริต หรือบุคคลที่สมองพิการหรือจิตใจผิดปกติ โดยมีอาการหนัก
3.คนเสมือนไร้ความสามารถ
บุคคลที่ไม่สามารถจัดทำการงานโดยตนเอง หรือเป็นบุคคลที่ศาลสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ
กายพิการ
จิตฟั่นเฟือน
ประพฤติสุร่ยสุร่าย
ติดสุรายาเมา
1.ผู้เยาว์
บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะจะต้องได้รับการยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม
4.ลูกหนี้ที่ถูกศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย
เมื่อถูกศาลตัดสิน เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็นผู้มีอำนาจในการจัดการ
5.สามีภริยา
เป็นผู้จัดการสินสมรสร่วมกัน จึงต้องให้ความยินยิมซึ่งกันและกันเป็นการทำนิติกรรมบางประเภท
สภาพบังคับทางแพ่ง
2.โมฆียกรรม
2.1ความสามารถของบุคคล
2.2การแสดงเจตนาโดยวิปริต
3.การบังคับชำระหนี้
1.โมฆะกรรม
1.2นิติกรรมที่ไม่ได้ทำให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกำหนด
1.3การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในสาระสำคัญแห่งนิติกรรม
1.1นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดเเจ้งโดยกฎหมาย
4.การชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทน
4.1ความเสียหายที่คำนวณราคาเป็นเงินได้
4.2ความเสียหายที่ไม่อาจคำนวณราคาเป็นตัวเงินได้
ความรับผิดทางแพ่งที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ความรับผิดชอบสัญญา
ความรับผิดชอบจากการละเมิด
2.การกระทำโดยจงใจหรือประมาท
3.ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
1.การกระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
อายุความ
ระยะเวลาที่กฎหมายกกำหนดให้บุคคลมีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด
ผู้เสียหายมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนอันเกิดจากการละเมิดภายใน 1 ปีนับแต่วันที่รู้เรื่องการละเมิดและรู้ตัวผู้กระทำละเมิด และไม่เกิน 10 ปีนับแต่วันละเมิด
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 25 ผู้เยาว์อาจะทำพินัยกรรมได้เมื่ออายุสิบห้าปีบริบูรณ์
มาตรา 26 ผู้เยาว์ต้องทำการจำหน่ายตามที่ผู้แทนโดยชอบธรรมได้ระบุไว้
มาตรา 24 ผู้เยาว์อาจทำการใดๆได้ทั้งสิ้น ซึ่งเป็นการสมแก่ฐานานุรูปแห่งตนและเป็นการอันจำเป็นในการดำรงชีพตามสมควร
มาตรา 27 ผู้แทนโดยชอบธรรมอาจให้ความยินยอมแก่ผู้เยาว์ในการประกอบธุรกิจทางการค้าหรือธุรกิจอื่น หรือในการทำสัญญาเป็นลูกจ้างในสัญญาแรงงานได้
มาตรา 20 ผู้เยาว์ย่อมบรรลุนิติภาวะเมื่อทำการสมรส หากการสมรสนั้นได้ทำตามบทบัญญัติมาตรา 1448
มาตรา 28 บุคคลวิกลจริต เป็นคนไร้ความสามารถ ต้องจัดให้อยู่ในความอนุบาล
มาตรา 31 ถ้าเหตุที่ทำให้เป็นคนไร้ความสามารถได้สิ้นสุดไปแล้ว และเมื่อบุคคลผู้นั้นเองหรือบุคคลใดๆดังกล่าวมาในมาตรา 28 ร้องขอต่อศาลก็ให้ศาลสั่งเพิกถอนคำสั่งที่ให้เป็นคนไร้ความสามารถ
มาตรา 32 บุคคลที่มีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ศาลจะสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ จึงต้องจัดให้อยู่ในความพิทักษ์การแต่งตั้งผู้พิทักษ์ตามบทบัญญัติ
มาตรา 23 ผู้เยาว์ทำการใดๆได้ทั้งสิ้น ซึ่งเป็นการต้องทำเองเฉพาะตัว
มาตรา 29 การใดๆอันบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามาถได้กระทำลง การนั้นเป็นโมฆียะ
มาตรา 22 ผู้เยาว์อาจทำการใดๆได้ทั้งสิ้น หากเป็นเพียงเพื่อจะได้ไปซึ่งสิทธิอันใดอันหนึ่งหรือเป็นการเพื่อให้หลุดพ้นจากหน้าที่อันใดอันหนึ่ง
มาตรา 36 ถ้าเหตุที่ศาลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถได้สิ้นสุดไปแล้ว ให้นำบัญญัติมาตรา 31 มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา 21 ผู้เยาว์จะทำนิติกรรมใดๆต้องได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมก่อนการใดๆที่ผู้เบยาว์ได้ทำลงปราศจากความยินยอมเช่นว่านั้นเป็นโมฆะ เว้นแต่บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น
มาตรา 19 บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะเมื่ออายุยี่สิบปีบริบูรณ์
มาตรา 33 ในคดีที่มีการร้องขอศาลสั่งให้บุคคลใดเป็นคนไร้ความสามารถเพราะวิกลจริต ถ้าพิจารณาได้ความว่าบุคคลนั้นไม่วิกลจริต แต่มีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อมีคำขอของคู่ความหรือของบุคคลตามที่ระบุไว้ ศาลอาจสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถก็ได้
มาตรา 15 สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดและอยู่รอดเป็นทารกและสิ้นสุดลงเมื่อตาย ทารกในครรภ์มารดาสามารถมีสิทธิต่างๆได้
มาตรา 34 คนเสมือนไร้ความสามารถนั้น ต้องได้รับความยินยอมของผู้พิทักษ์ก่อนแล้วจึงจะทำการอย่างหนึ่งอย่างใด
มาตรา 61 ถ้าบุคคลใดได้ไปจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่าบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ตลอดระยะเวลาห้าปี เมื่อผู้มีส่วนได้เสียหรือพนักงานอัยการร้องขอ ศาลจะสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนสาปสูญก็ได้
มาตรา 62 บุคคลซึ่งศาลได้มีคำสั่งให้เป็นคนสาบสูญให้ถือว่าถึงแก่ความตายเมื่อครบกำหนดระยะเวลาดังที่ระบุไว้มาตรา 61
นางสาวกัญญาพัชร โตสกุล 6001211344 61A