Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ, image - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การค้านวณอัตราการหยดของสารน้้าทางหลอดเลือดด้า
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ / จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
ต้องการให้สารน้ำ 1000 มล.ภายใน 8ชั่วโมงจะต้องปรับอัตราการหยดของสารน้ำกี่ cc/hr
วิธีทำเวลา8ชั่วโมง ต้องให้สารน้ำ =1000 cc
เวลา1ชั่วโมงต้องให้สารน้ำ =(1000 x 1)/8 cc/hr
ตอบ เพราะฉะนั้นสารน้ าที่ผู้ป่วยต้องได้รับใน 1ชั่วโมง =125 cc/hr
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย(หยด/นาที) =จำนวนSol.(มล/ชม.) xจำนวนหยดต่อมล.) /เวลา(นาที)
เวลา 1นาทีต้องให้สารน้ำ =20 Drop
เวลา 60นาทีต้องให้สารน้ า = (20 x 60)/1 Drop/60 นาที หรือชั่วโมง
ตอบ =1200 Drop/hr
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
การติดเชื้อเฉพาะที่(Local infection) บวมแดง ร้อน บริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำ
อาจจะมีหนองบริเวณที่แทงเข็ม
หลอดเลือดดำอักเสบ(Phlebitis) ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวมตำแหน่งที่แทงเข็มแดงร้อน
ไปตามแนวของหลอดเลือด หลอดเลือดดำที่ให้สารน้ำเป็นลำแข็ง บางครั้งอาจมีไข้ร่วมด้วย
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม(Extravasations)
บริเวณที่แทงเข็มบวมและมีเลือดแทรกซึมใต้ผิวหนัง มีอาการแสบ ปวดร้อน ไม่สุขสบาย
ระดับการอักเสบของหลอดเลือดดำจากการให้สารน้ำ
(Phlebitis Scale)
Grade 1 ผิวหนังบริเวณแทงเข็มแดง มีอาการปวดหรือไม่มีก็ได้
Grade 2 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมหรือไม่บวมก็ได้
Grade 0 ไม่มีอาการ
Grade 3 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดงเป็นทาง คลำได้หลอดเลือดแข็งเป็นลำ
Grade 4 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดงเป็นทาง คลำได้หลอดเลือดแข็งเป็นลำ
ความยาวมากกว่า 1 นิ้ว มีหนอง
การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอก หลอดเลือดดำ (Infiltration) บริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำ
การพยาบาล
ประคบด้วยความร้อนเปียก เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
หยุดให้สารน้ำ จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลตัวผู้ป่วย เพื่อลดอาการบวม
ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด
(Systemic complication)
การติดเชื้อในกระแสเลือด (BacteremiaหรือSepticemia)
มีไข้สูง หนาวสั่นความดันโลหิตลดลงคลื่นไส้ อาเจียน
บางครั้งมีอาการถ่ายเหลวมีการติดเชื้อเฉพาะที่เกิดร่วมด้วย
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด(Air embolism)
เกิดจากการไล่ฟองอากาศในชุดสายให้สารน้ำไม่หมด
ลิ่มเลือด (Thrombus) ที่เกิดจากการแทงเข็ม อาจหลุดเข้าไปอุดกั้นบริเวณอวัยวะสำคัญ เช่น สมอง หัวใจ ไต เป็นต้น จะทำให้การทำงานของอวัยวะส่วนนั้นล้มเหลวทันที (Thrombosis)
การแพ้ยาหรือสารน้ าที่ได้รับ(Allergic reaction)
ผื่นแพ้เกิดขึ้นที่ผิวหนัง ร่วมกับอาการแพ้ต่าง ๆ เช่น น้ำมูกไหลคันที่ผิวหนัง หายใจไม่สะดวก
เนื่องจากมี Bronchospasm ถ้าอาการเป็นมากอาจช็อคได้
ให้สารน้ าเร็วเกินและมากเกินไป(Circulatory overload)
เกิดจากอัตราการหยดของสารน้ำเร็วเกินไป โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคหัวใจ อาจเกิดอาการหัวใจวาย(Cardiac failure)
และ/หรือน้ำท่วมปอด (Pulmonary edema)ได้
การพยาบาล
ให้การช่วยเหลือตามอาการ เช่น ให้ ออกซิเจนในกรณีที่ผู้ป่วยหายใจไม่ออก
แล้วรีบรายงาน ให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
หยุดให้สารน้ำ เปลี่ยนขวดให้สารน้ำกรณีผู้ป่วยมีการแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ หรือมีการติดเชื้อ
เตรียมรถ Emergency ในการช่วยเหลือเร่งด่วน
ส่งเลือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา ดูแลให้ออกซิเจน
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะต่ำกรณีความดันโลหิตต่ำ หรือจัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงกรณีความดันโลหิตสูง
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
การเลือกต้าแหน่งของหลอดเลือดด้าที่จะแทงเข็ม
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขาให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขน
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่างๆเพราะจะทำให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย
เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัด
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
อุปกรณ์เครื่องใช้
ขวดสารน้ำ
เตรียมให้ตรงกับใบสั่งการรักษาและตรวจสอบดูว่าสภาพขวดสารน้ำ /ยาไม่มีรอยแตกร้าวหรือรูรั่ว สารน้ำไม่หมดอายุ
ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)
แบบชุดให้สารน้ำชนิดหยดธรรมดา
(Regular or macro drip administration set)
ชุดให้สารน้ำชนิดหยดเล็ก
(Micro drip administration set)
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย(Peripheral insertion devices)
ทำด้วยเทฟล่อน นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน มีหลายขนาดตั้งแต่เบอร์ 14, 16, 18, 20, 22 และ 24
Butterfly or Scalp vein
บริเวณหัวเข็มเป็นปีกพลาสติก จึงสามารถพับปีกจับเข็มแทงได้สะดวก เมื่อวางปีกลงจะแบนราบติดกับผิวหนัง ทำให้ยึดเข็มอยู่กับที่ได้ดีกว่าเข็มตรง
นิยมใช้กับเด็ก
อุปกรณ์อื่นๆ
ยางรัดแขน (Tourniquet)แผ่นโปร่งใสปิดตำแหน่งที่แทงเข็ม (Transparent dressing) หรือก๊อซปลอดเชื้อไม้รองแขนพลาสเตอร์สำลีปลอดเชื้อ 70%Alcohol ถุงมือสะอาด
อุปกรณ์เสริมกรณีจำเป็น ได้แก่ที่ต่อ 3 ทาง และสายต่อขยาย (Extension tube)
หลักการให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้าใหญ่
(Central venous therapy)
ให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central lineทางหลอดเลือดดำใหญ่
ให้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปาก
ให้ในกรณีที่รับประทานอาหารทางปากได้ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
(Implantedvascular access device หรือvenousport)
การฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลวทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนัง
โดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่
ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้สารละลายทางหลอดเลือดดำเป็นระยะๆและไม่สามารถให้สารน้ำ
และสารละลายทางหลอดเลือดดำส่วนปลายได้
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้าส่วนปลาย
(Peripheral intravenous infusion)
Heparin lockหรือ Saline lock
การแทงเข็มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลายและคาเข็มที่หล่อด้วยสารต้านการแข็งตัวของเลือด (Heparin) เพื่อให้สารละลายและยาเข้าทางหลอดเลือดดำ
Piggyback IV Administration
การให้สารน้ำขวดที่ 2 ต่อเข้ากับชุดให้สารน้ำขวดแรก เพื่อให้ยาหยดเข้าทางหลอดเลือดดำช้าๆขณะที่สารน้ำใน piggyback set หยดสารน้ำที่ให้อยู่ก่อนจะหยุดไหลชั่วคราวจนกว่าสารน้ำใน Piggyback หมดสารน้ำในขวดหลักก็จะไหลต่อ
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้นๆของผิวหนัง
ชนิดของสารน้้าที่ให้ทางหลอดเลือดด้า
Hypotonic solution
ค่า Osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์เป็นสารน้ำที่มีโมเลกุลอิสระของน้ำมากกว่าในเซลล์
จึงทำให้เกิดการเคลื่อนของน้ำเข้าสู่เซลล์
Hypertonic solution
มีมากกว่าออสโมลาริตี้ของน้ำนอกเซลล์สารน้ำอันนี้มีโมเลกุลอิสระของน้ำน้อยกว่าน้ำในเซลล์
และจะทำให้เกิดการดึงน้ำจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน
Isotonic solution
จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์(Extracellular fluid)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือด้า
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการบริหารยา
วัตถุประสงค์ของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาที่มีผลระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อ
ให้ยาชนิดที่ไม่สามารถให้ทางอื่นได้ผลต่อการรักษา
ให้ยาออกฤทธิ์เร็ว
วางแผนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำโดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights
และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goal
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดด้า
Surg plug กับ piggy back (100ml)
เครื่องใช้
IV set พร้อมเข็มเบอร์ 23
สำลีชุแอลกอฮอล์ 70% ถุงมือสะอาด, mask
ยาฉีดผสมใน piggy back (100ml)
วิธีการฉีดยา
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%ขวน piggy back กับ เสาน้ำเกลือ ปลดเข็มออกวางลงบนถาด เปิด clamp ให้น้ำยาไหลลงมาตาม set IV จนน้ำยาเต็มสายยาง ปิดclamp
มือซ้ายจับ surg plugปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
เช็ด surg plug ด้วยส าลีชุบแอลกอฮอล์ 70% สวมปลาย set IV เข้ากับ surg plug เปิด clamp ปรับหยดยา 50 หยอด/นาที
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ surg plug มือขวาเช็ด surg plug
ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% ดึง set IV ออก เช็ด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% อีกครั้ง
Surg plug กับ syringe IV push
เครื่องใช้
syringe IV push ยา พร้อมเข็มเบอร์ 23
สำลีชุแอลกอฮอล์ 70% ถุงมือสะอาด, mask
ยาฉีดผสมใน piggy back (100ml)
วิธีการฉีดยา
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
มือซ้ายจับ surg plug ปลดเข็มออกจากsyringe ไล่อากาศออกให้หมด
สวมปลาย tip ของ syringe เข้ากับ surg plug หมุนให้แน่น มือขวาดึง plunger
อยู่ในตำแหน่งของหลอดเลือดดำ ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำช้า ๆ จนยาหมด syringe
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ surg plug มือขวาดึง syringe ออก
เช็ด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% อีกครั้ง
IV plug กับ syringe IVpush
เครื่องใช้
syringe IV push ยา พร้อมเข็มเบอร์ 23
syringe 0.9 % NSS 3ml พร้อมเข็มเบอร์ 23 จำนวน 2 อัน
ยาฉีดผสมใน piggy back (100ml)
วิธีการฉีดยา
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
มือขวาหยิบ syringe 0.9 % NSS ถอดปลอกเข็มวางบนถาด ไล่อากาศออกให้หมด
มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรงจุกยางของ IV plug ดึง plunger
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
ถอดปลอกเข็มของ syringe ไล่อากาศออกให้หมด มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับsyringe แทงเข็มตรงจุดยางของ IV plug มือขวาดัน plunger ฉีดยาช้า ๆ จนยาหมด
three ways กับ piggy back (100 ml)
เครื่องใช้
IV setพร้อมเข็มเบอร์ 23
สำลีชุแอลกอฮอล์ 70% ถุงมือสะอาด, mask
ยาฉีดผสมใน piggy back (100ml)
วิธีการฉีดยา
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% แขวน piggy back กับ เสาน้ำเกลือ ปลดเข็มออกวางลงบนถาด เปิด clamp ให้น้ำยาไหลลงมาตาม set IV จนน้ำยาเต็มสายยาง ปิดclamp
มือซ้ายจับthree ways มือขวาหมุน ข้อต่อ three ways
(ลูกศรชี้ไปทิศใดแสดงว่าเปิดวาวส์ช่องทางนั้น) ปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
เช็ด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% สวมปลาย set IV
เข้ากับthree ways หมุนให้แน่น เปิด clamp ปรับหยดยา 50 หยด/นาที
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ three ways มือขวาเช็ด three ways
ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% แล้วปรับข้อต่อ three ways ปิดด้านที่ฉีดยา
IV plugกับ piggy back (100 ml)
เครื่องใช้
syringe 0.9 % NSS 3 ml พร้อมเข็มเบอร์ 23 จำนวน2 อัน
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
IV set ใช้ drip ยาพร้อมเข็มเบอร์ 23
ถุงมือสะอาด, mask
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยา
แขวน piggy back กับเสาน้ำเกลือ
มือขวาหยิบ syringe 0.9 % NSS 3 ml ถอดปลอกเข็มวางลงบนถาด แล้วไล่อากาศออกให้หมด
มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรง
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ถอดปลอกเข็มของ IV set ไล่อากาศออกให้หมด มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อยมือขวาจับแทงเข็มตรงจุดยางของ IV plugเปิด clamp ปรับหยดยา 50 หยด/นาที
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
มื่อยาฉีดหมด ปิด clamp มือขวาดึงเข็มออก ปิดปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียวมือซ้ายเช็ดท าความสะอาด IV plug ด้วยส าลีชุแอลกอฮอล์ 70% มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรงจุดยางของ IV plug มือซ้ายเลื่อนลงมาจับที่หัวเข็ม มือขวาดัน plunger ฉีด 0.9 % NSS 3 ml จนหมด มือซ้ายเลื่อนไปจับ IV plug มือขวาดึง syringe ออก เก็บปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียว
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด
three ways กับsyringe IV push
เครื่องใช้
syringe IV push ยา พร้อมเข็มเบอร์ 23
สำลีชุแอลกอฮอล์ 70% ถุงมือสะอาด, mask
ยาฉีดผสมใน piggy back (100ml)
วิธีการฉีดยา
ปลดเข็มออกจาก syringe ไล่อากาศออกให้หมด
สวมปลาย tip ของ syringe เข้ากับ three waysหมุนให้แน่น มือขวาดึง plunger
อยู่ในตำแหน่งของหลอดเลือดดำ ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำช้า ๆ จนยาหมด syringe
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
มือซ้ายจับthree ways มือขวาหมุน ข้อต่อ three ways
(ลูกศรชี้ไปทิศใดแสดงว่าเปิดวาวส์ช่องทางนั้น) ปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ three ways มือขวาเช็ด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% แล้วปรับข้อต่อ three ways ปิดด้าน side ที่ฉีดยา
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดด้า
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน
เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน
เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลการบริหารยาฉีดเป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือด้า
ขั้นตอนที่ 3การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำตามแผนการรักษาและไม่เกิดอาการแทรกซ้อน
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ประเมินสัญญาณชีพก่อนและขณะให้สารอาหารและติดตามทุก 2-4ชั่วโมง
ผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย(peripheral vein)
ควรเปลี่ยนตำแหน่งให้ทุก 3 วัน หรือทุกครั้งที่มีสารอาหารรั่วไหล (leak) ออกนอกเส้น
อนและขณะให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ควรมีการประเมินสภาพร่างกาย และควบคุมผู้ป่วยในระยะแรก
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับผู้ป่วย
ถ้าสารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำรั่ว หรือทางเส้นเลือดดำอุดตัน ให้ไม่ได้ ควรรายงานให้แพทย์ทราบ
หรือในทำนองเดียวกันถ้าสารอาหารที่เตรียมไว้หรือขณะที่ให้ผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 2ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
มีโอกาสเกิดหลอดเลือดดำอักเสบจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นเวลาหลายวัน
มีโอกาสเกิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือดจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นเวลาหลายวัน
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ (Evaluation)
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน
เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน
เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อ
การประเมินผลการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย(Assessment)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
การให้สารน้ าทางหลอดเลือดด า
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การหยุดให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
วิธีปฏิบัติ
อุปกรณ์เครื่องใช้
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
ความหนืดของสารน้ำ ถ้าสารน้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ เข็มขนาดใหญ่จะมีทางผ่านกว้าง อัตราการหยดจะเร็วกว่าใช้เข็มขนาดเล็ก
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก จะบังคับการหยดได้ไม่ดีพอ อัตราการหยดจะเร็ว
สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด จะทำให้สารน้ำผ่านไม่สะดวก
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือดแน่นหรือตึงเกินไปรวมทั้งการนั่งหรือนอนทับสายให้สารน้ำ
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย อาจทำให้เข็มเคลื่อนที่
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น หรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดด้า
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดด้า
Total parenteral nutrition (TPN)
โภชนบำบัดครบตามความต้องการของผู้ป่วยทั้งปริมาณพลังงานที่ต้องการ และสารอาหารทุกหมู่
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
โภชนบำบัดทางหลอดเลือดดำเพียงบางส่วน อาจได้พลังงานไม่ครบตามความต้องการ
หรือได้สารอาหารไม่ครบทุกหมู่
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
วิตามิน ให้ทั้งชนิดละลายในน้ำและชนิดละลายในไขมัน
เกลือแร่
ปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน
สารละลายไขมัน (fat emulsion)
น้ำ ให้คำนวณจำนวนน้ำที่จะให้แก่ผู้ป่วยตามน้ำหนักตัว
คาร์โบไฮเดรต
ต้าแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดด้า
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein)
ข้อดีของการให้วิธีนี้คือไม่ยุ่งยาก สามารถให้แก่ผู้ป่วยได้ทันที
แต่มีข้อจำกัดคือ ไม่สามารถให้น้ำตาลกลูโคสมากกว่าร้อยละ 10 ของสารละลาย
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ (central vein)
เพิ่มความเข้มข้นของน้ำตาลกลูโคสได้ถึงร้อยละ 20-25เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นเวลานานและต้องการพลังงานค่อนข้างสูงเป็นการท าหัตถการโดยแพทย์
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ความผิดปกติของจิตใจ เช่น anorexia nervosa เป็นต้น
โรคมะเร็งต่างๆ เช่น มะเร็งกระเพาะอาหาร เป็นต้น
ภาวะทางศัลยกรรม เช่น ถูกน้ำร้อนลวก
โรคของอวัยวะต่างๆ เช่น ภาวะไตวาย
โรคทางเดินอาหาร เช่น อุจจาระร่วงเรื้อรัง
อุปกรณ์ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดด้า
สายให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
ชุดให้สารอาหาร
วัตถุประสงค์
ให้ได้รับสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการของร่างกาย โดยผ่านทางหลอดเลือดเลือดดำ
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดด้า
ตรวจสอบ PPN หรือTPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร ปิดผ้าก๊อซปราศจากเชื้อบริเวณรอยต่อโดยใช้เทคนิคปราศจากเชื้อ
นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วยโดยเช็ดบริเวณรอยต่อด้วยส าลีชุบแอลกอฮอล์ ปิดด้วยผ้าก๊อซปราศจากเชื้อ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้งสวม mask
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือTPN ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแผนการรักษา
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดด้า
การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload)
ลักษณะที่พบ
ตรวจพบความดันเลือดและแรงดันหลอดเลือดส่วนกลางสูงขึ้น ชีพจรเร็ว
ผู้ป่วยมีปริมาณน้ำเข้าและออก (intake/output) ไม่สมดุล
อาการแสดงที่ปรากฏเริ่มแรก คือ ปวดศีรษะ หายใจตื้น และหอบเหนื่อย
มีการคั่งของเลือดดำจะพบว่าหลอดเลือดดำที่คอโป่ง
ถ้ารุนแรงจะมีภาวะปอดบวมน้ำ อาการคือ หายใจลำบาก
นอนราบไม่ได้ ผิวหนังเขียวคล้ำไอมีเสมหะเป็นฟองและอาจมีเลือดปน
การพยาบาลและการป้องกัน
ปรับอัตราหยดให้ช้าที่สุดและรายงานให้แพทย์ทราบด่วน
บันทึกสัญญาณชีพ
จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านั่งเพื่อช่วยให้หายใจสะดวกขึ้น
ไข้(pyrogenic reactions)
ลักษณะที่พบ
ปวดหลัง ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน
หนาวสั่น
ไข้สูง 37.3-41 องศาเซลเซียส
ความรุนแรงของอาการขึ้นอยู่กับเชื้อจุลินทรีย์ที่ได้รับและสภาวะของผู้ป่วย
การพยาบาลและการป้องกัน
หยุดให้สารอาหาร บันทึกสัญญาณชีพ และรายงานแพทย์
ควรเก็บชุดให้สารอาหารและชุดสายให้สารอาหารส่งเพาะเชื้อ
การเตรียมสารอาหารควรทำด้วยวิธีปลอดเชื้อ ก่อนให้สารอาหารทุกครั้ง
ตรวจสอบรูรั่วของสายให้อาหารก่อนใช้ทุกครั้ง เปลี่ยนชุดให้สารอาหารทุก 24ชั่วโมง
ควรมีสถานที่เฉพาะสำหรับเตรียมสารอาหารและหมั่นรักษาความสะอาด กำจัดฝุ่นละอองให้มากที่สุด
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด (Embolism)
เป็นก้อนเลือด (thromboembolism) และอากาศ (air embolism)
การพยาบาลและการป้องกัน
ะมัดระวังในการเปลี่ยนขวดสารอาหารไม่ให้อากาศผ่านเข้าไป
หยุดให้สารอาหารทันทีถ้าพบว่ามีก้อนเลือดอุดตันที่เข็ม
ห้ามนวดคลึงเพราะอาจทำให้ก้อนเลือดนั้นหลุดเข้าไปในกระแสเลือด
ลักษณะที่พบ
อาการเขียว เนื่องจากขาดออกซิเจน
สังเกตพบว่าอัตราการหยดของสารอาหารจะช้าลง หรือหยุดไหล
การหยุดให้สารอาหารทางหลอดเลือดด้า
เมื่อไม่มีความจำเป็นที่จะให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำให้งด สารละลายไขมันได้ทันที
และลดความเข้มข้นของน้ำตาลกลูโคส และกรดอะมิโนลง รวมทั้งเกลือแร่ต่างๆ ด้วย
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง
(Local infiltration)
ลักษณะที่พบ
บวมบริเวณที่ให้ อุณหภูมิของบริเวณนั้นจะเย็นกว่าบริเวณอื่นๆ เนื่องจากสารอาหารมีอุณหภูมิต่ำกว่าร่างกาย
ผู้ป่วยรู้สึกไม่สุขสบายบริเวณที่ให้
การพยาบาลและการป้องกัน
ถ้าพบว่ามีสารอาหารซึมออกมาอยู่ในเนื้อเยื่อควรหยุดให้สารอาหารทันที
ควรดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันการเกิดสารอาหารซึมออกมา
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
อาการและอาการแสดงบ่งชี้ถึงความจำเป็นในการประเมินสารน้ำและอิเล็คโตรไลท์ในร่างกาย
ภาวะที่เห็นได้ชัดว่ามีการสูญเสียอิเล็คโตรไลท์
เป็นโรคที่ทำให้เกิดการเพิ่มหรือลดของอิเลคโตรไลท์
วัตถุประสงค์
รักษาภาวะสมดุลของความเป็นกรด-ด่างในร่างกาย
รักษาภาวะสมดุลและปริมาตรของเลือดและส่วนประกอบของเลือด
ให้สารอาหารวิตามิน และเป็นแหล่งพลังงานแก่ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้
ให้ยาฉีดบางชนิดเข้าทางหลอดเลือดด า
รักษาภาวะสมดุลของน้ำและสารน้ำในร่างกาย
หมายถึง
การฉีดของเหลวเข้าหลอดเลือดดำโดยตรง