Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.3 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle…
บทที่ 4.3
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด
4.3.1 หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1. การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้าส่วนปลาย (Peripheral intravenous infusion)
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้น ๆ ของผิวหนัง
เฉพาะผู้ป่วยที่ต้องงดอาหารและน้ำดื่ม เพื่อเตรียมผ่าตัด
Heparin lock
เพื่อวัตถุประสงค์ในการให้สารละลายและยาเข้าทางหลอดเลือดดำเป็นครั้งเป็นคราว
Piggy back IV Administration
เพื่อให้ยาหยดเข้าทางหลอดเลือดดำช้า ๆ ขณะที่สารน้ำใน piggyback set หยด
2. การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำใหญ่ (Central venous therapy)
ให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central line ทางหลอดเลือดดำใหญ่ ๆ
3. การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดด้าใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลว
ทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนัง โดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่
4.3.2 ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
1. สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์ช่วยเพิ่มปริมาตรของน้ำที่อยู่นอกเซลล์
Lactated Ringer’s
Ringer’s
Normal saline
2. สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
เป็นสารน้ำที่มีโมเลกุลอิสระของน้ำมากกว่าในเซลล์จึงทำให้เกิดการเคลื่อนของน้ำเข้าสู่เซลล์
การให้สารน้ำชนิดนี้ต้องให้อย่างช้า ๆ เพื่อป้องการรบกวนของเซลล์
ได้แก่ ½
Normal saline, 0.33% Sodium chloride
3. สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution
)
สารน้ำอันนี้มีโมเลกุลอิสระของน้ำน้อยกว่าน้ำในเซลล์ และจะทำให้เกิดการดึงน้ำจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน
ได้แก่ 5% Dextrose in half-normal
saline, 5% Dextrose in normal saline
4.3.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
ความหนืดของสารน้ำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก จะบังคับการหยดได้ไม่ดีพอ อัตราการหยดจะเร็ว
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดด า
สายให้สารน้ำมีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด จะทำให้สารน้ำผ่านไม่สะดวก
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด แน่นหรือตึงเกินไปรวมทั้งการนั่ง หรือนอนทับสายให้สารน้ า จะปิดกั้นทางผ่านของสารน้ำ ทำอัตราการหยดช้าลง
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น
4.3.4 การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/ นาที)
= จำนวน Sol.(มล/ชม.) x จำนวนหยดต่อมล.)
ส่วนด้วย เวลา(นาที)
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม.
= ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้
ส่วนด้วย จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
4.3.5 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1. การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
1) เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
2) ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
3) ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
4) ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
5) หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ
6) คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้ หากเป็นสารน้ำชนิด Hypertonic
2. อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ขวดสารน้ำ
2) ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)
3) เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral insertion devices)
4) อุปกรณ์อื่น ๆ
สาแขวนขวดให้สารน้ำ
ยางรัดแขน (Tourniquet)
แผ่นโปร่งใสปิดตำแหน่งที่แทงเข็ม (Transparent dressing)
สำลีปลอดเชื้อ
70% Alcohol
ถุงมือสะอาด
4.3.6 อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1. ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
1) การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอกหลอดเลือดดำ
2) การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
3) การติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection)
4) หลอดเลือดดำอักเสบ (Phlebitis)
ระดับการอักเสบของหลอดเลือดดำจากการให้สารน้ำ
ดังนี้
Grade 0 ไม่มีอาการ
Grade 1 ผิวหนังบริเวณแทงเข็มแดง มีอาการปวดหรือไม่มีก็ได้
Grade 2 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมหรือไม่บวมก็ได้
Grade 3 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดงเป็นทาง คลำได้หลอดเลือดแข็งเป็นลำ
Grade 4 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดงเป็นทาง คลำได้หลอดเลือดแข็งเป็นลำ
การพยาบาล
ดังนี้
1) หยุดให้สารน้ำ จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำ
2) ประคบด้วยความร้อนเปียก
3) เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
4) รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
5) จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
6) ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
2. ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
1) การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ
2) การติดเชื้อในกระแสเลือด
3) เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด (Air embolism)
4) ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป
การพยาบาล
ดังนี้
1) หยุดให้สารน้ำ
2) เปลี่ยนขวดให้สารน้ำ กรณีผู้ป่วยมีการแพ้ยา
3) ให้การช่วยเหลือตามอาการ
4) วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
5) เตรียมรถ Emergency ในการช่วยเหลือเร่งด่วน
6) รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
7) ส่งเลือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
8) ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
9) ดูแลให้ออกซิเจน
10) จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะต่ำ กรณีความดันโลหิตต่ำ
4.3.7 การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
โดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goal
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดด้า
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
การหยุดให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
เมื่อให้สารน้ำครบตามจำนวนที่ต้องการ
วัตถุประสงค์ของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้สารน้ำทดแทนน้ำที่สูญเสียจากร่างกาย
ให้สารน้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ให้ยาบางชนิดที่ไม่สามารถดูดซึมทางระบบทางเดินอาหาร
รักษาสมดุลของกรด-ด่างในร่างกาย
ใช้เป็นช่องทางในการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ
ใช้เป็นช่องทางในการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ
แก้ไขความดันโลหิต
4.3.8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดำ
วิธีการฉีดยาแบบที่ 1 IV plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)