Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดํา เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดํา เลือดและส่วนประกอบของเลือด
อาการและอาการแสดงบ่งชี้ถึงความจําเป็นในการประเมินสารน้ําและอิเล็คโตรไลท์ในร่างกาย
ภาวะที่เห็นได้ชัดว่ามีการสูญเสียอิเล็คโตรไลท์
ท้องเสีย
อาเจียน
เสียเลือดมาก
ในรายที่สงสัยว่าเป็นโรคที่ทําให้เกิดการเพิ่มหรือลดของอิเลคโตรไลท์
ทางเดินอาหารบิดหมุ
ท้องอืด
ภาวะอ่อนแรง
วัตถุประสงค์การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดํา
รักษาภาวะสมดุลของความเป็นกรด-ด่างในร่างกาย เช่น ผู้ป่วยโรคไต โรคหัวใจที่มีความ แปรปรวนของกรดด่าง
รักษาภาวะสมดุลและปริมาตรของเลือดและส่วนประกอบของเลือด
ให้สารอาหาร วิตามิน และเป็นแหล่งพลังงานแก่ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทาง ปากได้
ให้ยาฉีดบางชนิดเข้าทางหลอดเลือดดํา
รักษาภาวะสมดุลของน้ำและสารน้ำในร่างกาย
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดํา
การให้สารน้ําทางหลอดเลือดดําใหญ่ (Central venous therapy)
เป็นการ ให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central Line ทางหลอดเลือดดําใหญ่ ๆ
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดําใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง (Implanted vascular access device หรือ venous port)
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลว ทางหลอดเลือดดําไว้ใต้ผิวหนัง โดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดําใหญ่
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดําส่วนปลาย (Peripheral intravenous infusion)
เป็นการให้ สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดําที่อยู่ในชั้นตื้น ๆ ของผิวหนังหรือหลอดเลือดดําที่อยู่ในส่วนปลายของ แขนและขา
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดํา
สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 mOsm/M ซึ่งค่า Osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
เป็นสารน้ำที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า 310 mOsm/ซึ่งมีมากกว่าออสโมลาริตี้ของน้ํานอกเซลล์
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์ (Extracellular fluid)
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดํา
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
ความหนืดของสารน้ำ
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น หรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
การคํานวณอัตราการหยดของสารน้ําทางหลอดเลือดดํา
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดํา
การเลือกตําแหน่งของหลอดเลือดดําที่จะแทงเข็ม
ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ําที่หลอดเลือดดําส่วนปลายของแขนก่อน
เลือกหลอดเลือดดําของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
ตรวจสอบบริเวณตําแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
ถ้าจําเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ เพราะจะทําให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย
คํานึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
อุปกรณ์ที่ใช้
ขวดสารน้ำ
ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดําส่วนปลาย (Peripheral insertion devices)
อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น เสาแขวนขวดให้สารน้ำ ยางรัดแขน
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม (Extravasations)
การติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection)
การบวมเนื่องจากสารน้ําซึมออกนอก หลอดเลือดดํา (Infiltration)
หลอดเลือดดําอักเสบ (Phlebitis)
ระดับการอักเสบของหลอดเลือดดําจากการให้สารน้ำ(Phlebitis Scale)
Grade 1 ผิวหนังบริเวณแทงเข็มแดง มีอาการปวดหรือไม่มีก็ได้
Grade 2 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมหรือไม่บวมก็ได้
Grade 0 ไม่มีอาการ
Grade 3 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดงเป็นทาง คลําได้หลอดเลือดแข็งเป็นลํา
Grade 4 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดงเป็นทาง คลําได้หลอดเลือดแข็งเป็นลํา ความยาวมากกว่า 1 นิ้ว มีหนอง
การพยาบาล
เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
ประคบด้วยความร้อนเปียก
จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลําตัวผู้ป่วย เพื่อลดอาการบวม
หยุดให้สารน้ำ จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลําตัวผู้ป่วย
ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
การติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia หรือ Septicemia)
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด (Air embolism)
การแพ้ยาหรือสารน้ําที่ได้รับ (Allergic reaction)
ให้สารน้ําเร็วเกินและมากเกินไป (Circulatory Overload)
การพยาบาล
เตรียมรถ Emergency ในการช่วยเหลือเร่งด่วน
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
ส่งเลือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
ให้การช่วยเหลือตามอาการ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ออกซิเจน
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะต่ํากรณีความดันโลหิตต่ํา หรือจัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงกรณี ความดันโลหิตสูง
เปลี่ยนขวดให้สารน้ำ กรณีผู้ป่วยมีการแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ หรือมีการติดเชื้อ
หยุดให้สารน้ำ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดํา
วางแผนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดําโดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goal
วัตถุประสงค์ของการให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา
ให้ยาบางชนิดที่ไม่สามารถดูดซึมทางระบบทางเดินอาหาร
รักษาสมดุลของกรด-ด่างในร่างกาย ในรายที่มีภาวะเสียสมดุลกรด-ด่าง
ให้สารน้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกายในรายที่ไม่สามารถรับประทานได้ทางปาก
ใช้เป็นช่องทางในการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดํา
ให้สารน้ําทดแทนน้ำที่สูญเสียจากร่างกาย
แก้ไขความดันโลหิต โดยการให้สารละลายที่มีความเข้มข้นมากกว่าน้ำในร่างกาย
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยได้รับสารน้ําทางหลอดเลือดดําไม่พบอาการแทรกซ้อนและปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา
เครื่องใช้
three ways
IV stand (เสาน้ําเกลือ)
สําลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
พลาสเตอร์ หรือ พลาสเตอร์ใสสําเร็จรูป (transparent)
tourniquet
แผ่นฉลากชื่อ
intravenous set (IV set)
ถุงมือสะอาด mask
intravenous Catheter (IV Cath.) เบอร์ 22/ 24
extension tube
intravenous fluid (IV fluid) ตามแผนการรักษา
วิธีทําการให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา
เช็ดจุกยางที่ขวดหรือถุงสารน้ำด้วยสําลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ต่อ IV set กับ IV fluid
ดึงแผ่นโลหะที่ปิดขวดสารน้ำหรือฝาครอบที่ปิดถุงน้ำพลาสติกออก
ต่อ three ways กับ extension tube แล้วมาต่อกับ IV set
ล้างมือให้สะอาด
ปิด clamp ที่ IV set
บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้ เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจ และลดความวิตกกังวล และผู้ป่วยให้ความร่วมมือ
แขวนขวด IV fluid เสาน้ําเกลือแขวนให้สูงประมาณ 1เมตร (3 ฟุต) จากผู้ป่วย
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบรายชื่อนามสกุล เตียงผู้ป่วยให้ตรงกับป้ายข้อมือผู้ป่วย
บีบ chamber ของ IV set ให้ IV fluid ลงมาในกระเปาะไล่อากาศในสาย IV จนหมด
ตรวจสอบคําสั่งการรักษา และเขียนชื่อนามสกุลของผู้ป่วย ชนิดของสารน้ํา วัน เวลาที่เริ่มให้อัตรา การหยดของสารน้ํา ลงในแผ่นฉลากปิดข้างขวดเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำในปริมาณที่ถูกต้องสอดคล้องกับ แผนการรักษา
การเตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ํา
สวมถุงมือสะอาดและ mask
ทําความสะอาดผิวหนังตําแหน่งที่จะแทงเข็ม
รัด tourniquet เหนือตําแหน่งที่ต้องการแทงเข็ม ประมาณ 2-6 นิ้ว เพื่อให้เห็นหลอดเลือดดําชัดเจน
ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ของมือซ้ายตรึงผิวหนังตําแหน่งที่จะแทง IV cath.
เลือกตําแหน่งที่จะแทง IV Cath.
เตรียม IV cath.
เก็บอุปกรณ์ทําความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ําทางหลอดเลือดดําตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ (โดยนักศึกษาทบทวนบทเรียนตามขั้นตอนการให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา)
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่ (โดยการตรวจสอบความครบถ้วนของใช้ การจัดเก็บของเข้าที่เดิมและเตรียมพร้อมใช้งานครั้งต่อไป)
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน
ประเมินคุณภาพของการให้บริการ ข้อ 3 อยู่ในคุณภาพระดับใด (โดยการให้คะแนนระดับดี มาก-ดี-ปานกลาง-ปรับปรุง)
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ 2 อยู่ในคุณภาพระดับใด (โดยการให้คะแนนระดับดีมาก-ดี-ปานกลาง-ปรับปรุง)
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดํา
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม โดยการสอบถาม ผู้ป่วย)
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตาม หลักการ 6 Rightsและหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
การหยุดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดํา เมื่อให้สารน้ำครบตามจํานวนที่ต้องการหรือต้องการหยุดให้
อุปกรณ์เครื่องใช้
พลาสเตอร์
ถุงมือชนิดใช้แล้วทิ้ง
สําลีปลอดเชื้อ หรือก๊อซปลอดเชื้อ
วิธีปฏิบัติ
ดึงเข็มที่ให้สารน้ำออกทางผิวหนังตามแนวที่แทงเข็มด้วยความนุ่มนวล
ใช้สําลีแห้งหรือก๊อซปลอดเชื้อกดทับที่ตําแหน่งที่ดึงเข็มออกหรือยึดติดด้วย พลาสเตอร์ และ ปิดไว้นาน 8 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการติดเชื้อจนกว่าเลือดจะหยุด
สวมถุงมือเพื่อไม่ให้เลือดสัมผัสกับมือพยาบาล
เก็บชุดให้สารน้ําและเข็มที่แทงให้เรียบร้อย
แกะพลาสเตอร์ที่ปิดยึดหัวเข็ม และสายให้สรน้ําออกทีละชิ้น ระวังอย่าให้เข็มถูกดึงรั้งออก ทางผิวหนัง
บันทึกในบันทึกทางการพยาบาลวัน เวลาและเหตุผลของการหยุดให้สารน้ำ
ปิด clamp
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
ความพร้อมของการรับบริการให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา
ความต้องการรับบริการให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา
ความวิตกกังวลและความกลัว
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
การประเมินด้านร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
การประเมินแผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา
ตรวจสอบชนิดของสารน้ําตามแผนการรักษา
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือด
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการบริหารยา
วางแผนบริหารยาตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
วัตถุประสงค์ของการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดํา
ให้ยาที่มีผลระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อ
ห้ยาชนิดที่ไม่สามารถให้ทางอื่นได้ผลต่อการรักษา
ให้ยาออกฤทธิ์เร็ว
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights
ผู้ป่วยปลอดภัยตามหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดํา
วิธีการฉีดยาแบบที่ 3Surs plug กับ piggy back (100 ml)
เครื่องใช้
V set พร้อมเข็มเบอร์ 23
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml)
สําลีชุแอลกอฮอล์ 70%
ถุงมือสะอาด, mask
วิธีการฉีดยา
แขวน piggy back กับ เสาน้ําเกลือ ปลดเข็มออกวางลงบนถาด เปิด clamp ให้น้ํายาไหล ลงมาตาม set IV จนน้ํายาเต็มสายยาง ปิดclamp
มือซ้ายจับ Surs plug ปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
มือซ้ายเช็ดทําความสะอาด surg plug ด้วยสําลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
เช็ด surg plug ด้วยสําลีชุบแอลกอฮอล์ 70% สวมปลาย set IV เข้ากับ Surg plug เปิด clamp ปรับหยดยา 50 หยอด/นาที (คํานวณหยดยาฉีด 100 ml ให้หมดใน 30 นาที)
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ Surg plus มือขวาเช็ด Surs plug ด้วยสําลีชุบแอลกอฮอล์ 70% ดึง set IV ออก เช็ด surg plug ด้วยสําลีชุบแอลกอฮอล์ 70% อีกครั้ง
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
เครื่องใช้
สําลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ถุงมือสะอาด, mask
Syringe IV push ยา พร้อมเข็มเบอร์ 23
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยา
มือซ้ายเช็ดทําความสะอาด surg plug ด้วยสําลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
มือซ้ายจับ surg plug ปลดเข็มออกจาก syringe ไล่อากาศออกให้หมด
สวมปลาย tip ของ syringe เข้ากับ Surg plug หมุนให้แน่น มือขวาถึง plunger สังเกต เลือดออกมาหรือไม่
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ surg plug มือขวาถึง syringe ออก เช็ด surg plug ด้วยสําลีชุบ แอลกอฮอล์ 70% อีกครั้ง
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
วิธีการฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IV push
เครื่องใช้
Syringe 0.9 % NSS 3 ml พร้อมเข็มเบอร์ 23 จํานวน 2 อัน
สําลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
Syringe IV push ยา พร้อมเข็มเบอร์ 23
ถุงมือสะอาด, Mask
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยา
มือขวาหยิบ Syringe 0.9 % NSS ถอดปลอกเข็มวางบนถาด ไล่อากาศออกให้หมด
มือซ้ายยก V plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ Syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรงจุกยางของ IV plus ดึง plunger ดูว่ามีเลือดออกตามมาหรือไม่
มือซ้ายเช็ดทําความสะอาด IV plus ด้วยสําลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ถอดปลอกเข็มของ Syringe ไล่อากาศออกให้หมด
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
มือขวาดึง Syringe ออก ปิดปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียว มือซ้ายเช็ดทําความสะอาด IV plug ด้วยสําลีชุแอลกอฮอล์ 70%
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
วิธีการฉีดยาแบบที่ 6 three ways กับ syringe IV push
เครื่องใช้
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
สําลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
ถุงมือสะอาด, mask
วิธีการฉีดยา
ปลดเข็มออกจาก syringe ไล่อากาศออกให้หมด
เช็ด three ways ด้วยสําลีชุบแอลกอฮอล์ 70% สวมปลาย trip ของ syringe เข้ากับ three ways หมุนให้แน่น
มือซ้ายจับ three ways มือขวาหมุน ข้อต่อ three ways (ลูกศรชี้ไปทิศใดแสดงว่าเปิดวาวส์ ช่องทางนั้น) ปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ three ways มือขวาเช็ด three ways ด้วยสําลีชุบแอลกอฮอล์ 70% แล้วปรับข้อต่อ three ways ปิดด้าน side ที่ฉีดยา
มือซ้ายเช็ดทําความสะอาด three ways ด้วยสําลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
เก็บของใช้เข้าที่ให้เรียบร้อย
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
วิธีการฉีดยาแบบที่ 1IV plus กับ piggy back (100 ml)
เครื่องใช้
Syringe 0.9 % NSS 3 ml พร้อมเข็มเบอร์ 23 จํานวน 2 อัน
สําลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
IV set ใช้ drip ยา พร้อมเข็มเบอร์ 23
ถุงมือสะอาด, mask
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยา
แขวน piggy back กับเสาน้ําเกลือ มือขวาหยิบ Syringe 0.9 % NSS 3 ml ถอดปลอกเข็ม วางลงบนถาด แล้วไล่อากาศออกให้หมด
มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรง จุกยางของ IV plug ดึง plunger
มือซ้ายเช็ดทําความสะอาด IV plug ด้วยสําลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ถอดปลอกเข็มของ IV set ไล่อากาศออกให้หมด มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับแทงเข็มตรงจุดยางของ IV plug เปิด clamp ปรับหยดยา 50 หยด/นาที (คํานวณหยดของยาฉีด 100 ml ให้หมดใน 30 นาที)
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
เมื่อยาฉีดหมด ปิด clamp มือขวาดึงเข็มออก ปิดปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียว มือซ้ายเช็ดทํา ความสะอาด IV plug ด้วยสําลีชแอลกอฮอล์ 70%
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
เครื่องใช้
V set พร้อมเข็มเบอร์ 23
สําลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml)
ถุงมือสะอาด, mask
วิธีการฉีดยา
แขวน piggy back กับ เสาน้ําเกลือ ปลดเข็มออกวางลงบนถาด เปิด Clamp ให้น้ํายาไหล ลงมาตาม set IV จนน้ํายาเต็มสายยาง ปิดclamp
มือซ้ายจับ three ways มือขวาหมุน ข้อต่อ three ways (ลูกศรชี้ไปทิศใดแสดงว่าเปิดวาวส์ ช่องทางนั้น) ปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
มือซ้ายเช็ดทําความสะอาด three ways ด้วยสําลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
เช็ด three ways ด้วยสําลีชุบแอลกอฮอล์ 70% สวมปลาย set IV เข้ากับ three ways หมุนให้แน่น เปิด clamp ปรับหยดยา 50 หยด/นาที (คํานวณหยดของยาฉีด 100 ml ให้หมดใน 30 นาที)
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ three ways มือขวาเช็ด three ways ด้วยสําลีชุบแอลกอฮอล์ 70% แล้วปรับข้อต่อ three ways ปิดด้านที่ฉีดยา
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
การบริหารยาที่มีประสิทธิภาพโดยใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดํา สิ่งที่ต้องประเมิน
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนํามาปรับปรุง การปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ (โดยนักศึกษาทบทวนบทเรียนตามขั้นตอนการบริหารยาฉีด)
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่ (โดยการตรวจสอบความครบถ้วนของใช้ การจัดเก็บของเข้าที่เดิมและเตรียมพร้อมใช้งานครั้งต่อไป)
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนํามา ปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ 2 อยู่ในคุณภาพระดับใด (โดยการให้คะแนนระดับดีมาก-ดี-ปานกลาง-ปรับปรุง)
ประเมินคุณภาพของการให้บริการ ข้อ 3 อยู่ในคุณภาพระดับใด (โดยการให้คะแนนระดับดีมาก-ดี-ปานกลาง-ปรับปรุง)
การประเมินผลการบริหารยาฉีด เป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
“รู้สึกเป็นอย่างไรบ้าง? เจ็บหรือปวดบริเวณฉีดยาหรือไม่
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตาม หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goal
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
ผู้ป่วยบอกว่า “รู้สึกพึงพอใจต่อการบริการจากคุณพยาบาล..”
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
ความต้องการรับบริการฉีดยา
ความวิตกกังวลและความกลัว
ความพร้อมของการรับบริการฉีดยา
การประเมินสิ่งแวดล้อม
บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย เช่น ตู้ข้างเตียง เหล็กกั้นเตียง เป็นต้น
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
การประเมินด้านร่างกาย
ประวัติการแพ้ยา
พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
ระดับความรู้สึกตัว