Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ - Coggle Diagram
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
กฎหมายพาณิชย์:เป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้าขายหรือกิจการใดๆ ที่ได้กระทำในเรื่องหุ้นส่วนบริษัท ประกันภัยตั๋วเงิน เป็นต้น
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง:เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการดำเนินพิจารณาพิพากษาคดีในกรณีที่เกิดข้อพิพาทในทางแพ่งขึ้น
กฎหมายแพ่ง เป็นความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนโดยทุกฝ่ายมีฐานะเท่าเทียมกัน
ความสามารถของบุคคลในการให้การยินยอมรักษาพยาบาล
คนไร้ความสามารถ บุคคลที่ศาลสั่งให้เป็นคนไร้สามารถไม่อาจทำนิติกรรม
คนเสมือนไร้ความสามารถ กฎหมายยกเว้น โดยเฉพาะเกี่ยวกับทรัพย์สิน ซึ่งถ้ากระทำโดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้พิทักษ์ ถือว่านิติกรรมนั้นเป็นโมษียะ
ผู้เยาว์ การรับของที่มีผู้ให้โดยเสน่หา การรับการปลดหนี้จากเจ้าหนี้โดยไม่มีเงื่อนไข ทำพ นัยกรรมเมื่ออายุครบ 15 ปี
ลูกหนี้ที่ถูกศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย ไม่สามารถกระท าการใดๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินของตน เว้นแต่กระทำตามคำสั่ง
สามีภริยา การซื้อขาย แลก เปลี่ยน การเช่าอสังหาริมทรัพย์เกิน 3ปี
บุคคลต้องร่วมรับผิดกับผู้กระทำ
ตัวการต้องรับผิดชอบผลแห่งการละเมิดของตัวแทนที่ได้กระท าไปภายในของเขตอำนาจของตัวแทน
บิดามารดาของผู้เยาว์หรือผู้อนุบาลของผู้วิกลจริต ต้องร่วมรับผิดในผลแห่งการละเมิดที่ผู้เยาว์หรือผู้วิกลจริตกระทำ เว้นแต่พิสูจน์ได้ว่า ได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรในหน้าที่การดูแล
นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งการละเมิด
ครูบาอาจารย์นายจ้างหรือบุคคลอื่น ซึ่งรับดูแลผู้ไร้ความสามารถอยู่เป็นนิตย์ หรือชั่วครั้งคราว จะต้องร่วมรับผิดกับผู้ไร้ความสามารถในการละเมิด
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๑๕๔๗เด็กเกิดจากบิดามารดาที่มิได้สมรสกัน จะเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายต่อเมื่อบิดามารดาได้สมรสกัน
มาตรา ๑๖๐๑ทายาทไม่จำเป็นต้องรับผิดเกินกว่าทรัพย์มรดกที่ตกทอดได้แก่ตน
มาตรา ๔๔๓ในกรณีท าให้เขาถึงตายนั้น ค่าสินไหมทดแทนได้แก่ค่าปลงศพรวมทั้งค่าใช้จ่ายอันจ าเป็นอย่างอื่น ๆ อีกด้วย
มาตรา ๔๒๖นายจ้างซึ่งได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่บุคคลภายนอกเพื่อละเมิดอันลูกจ้างได้ท านั้น ชอบที่จะได้ชดใช้จากลูกจ้างนั้น
มาตรา ๔๒๕นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งละเมิด
มาตรา ๔๒๐ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
มาตรา ๒๕ผู้เยาว์อาจทำพินัยกรรมได้เมื่ออายุสิบห้าปีบริบูรณ์
มาตรา ๒๒ผู้เยาว์อาจทำการใด ๆ ได้ทั้งสิ้น หากเป็นเพียงเพื่อจะได้ไปซึ่งสิทธิอันใดอันหนึ่ง
มาตรา ๒๑ผู้เยาว์จะทำนิติกรรมใดๆ ต้องได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน
มาตรา ๒๐ผู้เยาว์ย่อมบรรลุนิติภาวะเมื่อทำการสมรส
มาตรา ๑๙บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุยี่สิบปีบริบูรณ์
มาตรา ๑๕สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารกและสิ้นสุดลงเมื่อตาย
กฎหมายอาญา
ประเภทของความรับผิดทางอาญา
ความผิดต่อแผ่นดิน
การปลอมและการแปลงเอกสาร การลักทรัพย์ และความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย
ความผิดต่อส่วนตัว
ความผิดฐานฉ้อโกง ยักยอกทรัพย์ผู้อื่น หมิ่นประมาท ความผิดฐาน บุกรุก ความผิดทางเพศ
“ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ ถ้าไม่มีกฏหมาย”
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
กระทำโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา
การกระทำโดยเจตนา ผู้กระทำต้องรู้ข้อเท็จจริงขององค์ประกอบภายนอกของความผิดนั้น และมีความมุ่งหมายจะให้เกิดผลนั้น
การกระทำโดยประมาทหมายถึง การกระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง
อายุความ
อายุความฟ้องคดีทั่วไป ระยะเวลาของอายุความแปรตามอัตราโทษตามความผิด
อายุความฟ้องคดีความผิดอันยอมความได้
กฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดและกำหนดโทษ
การลงโทษบุคคลใด ต้องมีพยานหลักฐานที่ชัดเจนว่าบุคคลกระทำผิดจริง
เหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญา
การกระทำ
โทษทางอาญา
โทษกักขังเป็นโทษที่เปลี่ยนจากโทษอย่างอื่นมาเป็นโทษกักขัง
โทษปรับการเสียค่าปรับ
โทษจำคุก ศาลต้องลงโทษจำคุกไม่เกิน 3ปี
โทษริบทรัพย์สินศาลมีอำนาจสั่งริบทรัพย์สิน
โทษประหารชีวิตเป็นโทษสูงสุด