Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.3 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle…
บทที่ 4.3
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
1) เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถใช้แขนข้างที่ถนัดทำกิจวัตรต่างๆ ได้ด้วยตนเอง
2) ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน เพื่อให้หลอดเลือดดำส่วนที่ถัดเข้ามาสามารถใช้งานได้อีก โดยตาแหน่งเส้นเลือดดาส่วนปลายที่แขนและมือ ซึ่งเหมาะสาทรับการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ขวดสารน้ำ ต้องเตรียมให้ตรงกับใบสั่งการรักษาและตรวจสอบดูว่าสภาพขวดสารน้าเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำ/ยาที่ปราศจากเชื้ออย่างแท้จริง
2) ชุดให้สารน้ำลักษณะเป็นสายสีขาวใสมองเห็นสารน้ำได้ตลอด
-ส่วนบนเป็นแท่งพลาสติกแข็งปลายแหลมใช้แทงผ่านจุกขวด
ต่อจากโคนเข็มมีกระเปาะพักน้ำ
-ที่ปลายสายของชุดให้สารน้ำ มีท่อยางสาหรับแทงเข็มฉีดยา
-ที่ปลายท่อยางมีข้อต่อใช้ต่อเข้ากับหัวเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
3) เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย ยิ่งเบอร์เล็กหัวยิ่งใหญ ยิ่งเบอร์ใหญ่ หัวยิ่งเล็ก
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่
การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอก หลอดเลือดดำ
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
การติดเชื้อเฉพาะที่บวมแดง ร้อน บริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำอาจจะมีหนองบริเวณที่แทงเข็ม
หลอดเลือดดำอักเสบผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวม
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด
การแพ้ยาหรือสารน้าที่ได้รับมีผื่นแพ้เกิดขึ้นที่ผิวหนังร่วมกับอาการแพ้ต่างๆ
การติดเชื้อในกระแสเลือด
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือดเกิดจากการไล่ฟองอากาศในชุดสายให้สารน้ำไม่หมด
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไปโดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคหัวใจ อาจเกิดอาการหัวใจวายหรือ น้าท่วมปอด
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดา
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
ประวัติการแพ้ยา
พยาธิสภาพของโรค
ระดับความรู้สึกตัว
การประเมินด้านจิตใจ
ความต้องการรับบริการฉีดยา
ความวิตกกังวลและความกลัว
ความพร้อมของการรับบริการฉีดยา
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
บรรยากาศในหอผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการบริหารยา
วางแผนบริหารยาตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
วัตถุประสงค์
ให้ยาออกฤทธิ์เร็ว
ให้ยาที่มีผลระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อ
ให้ยาชนิดที่ไม่สามารถให้ทางอื่นได้ผลต่อการรักษา
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
การบริหารยาที่มีประสิทธิภาพโดยใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของpatient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
วิธีการฉีดยาแบบที่ 1 IV plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 6 three ways กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการบริหารยาฉีด
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้าทางหลอดเลือดดา
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้าทางหลอดเลือดด้า
ประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLEของ patient safety goal
วัตถุประสงค์
ให้สารน้าทดแทนน้าที่สูญเสียจากร่างกาย
แก้ไขความดันโลหิต
ให้ยาบางชนิดที่ไม่สามารถดูดซึมทางระบบทางเดินอาหาร
รักษาสมดุลของกรด-ด่างในร่างกาย
ให้สารน้าเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ใช้เป็นช่องทางในการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดา ติดต่อกันเป็นเวลานาน
ขั้นตอนที่ 4การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้ ล้างมือให้สะอาด ดึงแผ่นโลหะที่ปิดขวดสารน้าออก เช็ดจุกยางที่ขวดด้วยสาลีชุบแอลกอฮอล์ 70% ต่อ IV set กับ IV fluid ต่อ three ways กับ extension tube แล้วมาต่อกับ IV set ปิด clamp ที่ IV set แขวนขวด IV fluid สูงประมาณ 1 เมตร จากผู้ป่วย เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย ลงบันทึกทางการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดาตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการให้สารน้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
ความต้องการรับบริการ
ความวิตกกังวลและความกลัว
ความพร้อมของการรับบริการ
การประเมินด้านร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
การประเมินแผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา
ตรวจสอบชนิดของสารน้ำตามแผนการรักษา ชนิด ปริมาณ อัตรา และเวลา
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
บรรยากาศในหอผู้ป่วย
ความสะอาด