Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.3 การให้สารน้าทางหลอดเลือดด้า เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle…
บทที่ 4.3
การให้สารน้าทางหลอดเลือดด้า เลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้น ๆ ของผิวหนังหรือหลอดเลือดดำที่อยู่ในส่วนปลายของแขนและขา
Heparin lock หรือ Saline lock เป็นการแทงเข็มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลายและคาเข็มที่หล่อด้วยสารต้านการแข็งตัวของเลือดเจือจาง ไว้เพื่อวัตถุประสงค์ในการให้สารละลายและยาเข้าทางหลอดเลือดดำเป็นครั้งเป็นคราว
Piggy back IV Administration เป็นการให้สารน้ำขวดที่ 2 ซึ่งมีขนาดบรรจุ 25 – 250 มล.²ต่อเข้ากับชุดให้สารน้ำขวดแรก วัตถุประสงค์เพื่อให้ยาหยดเข้าทางหลอดเลือดดำช้าๆ
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลว
ทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนัง โดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดาใหญ่
ผู้ป่วยที่จาเป็นต้องให้สารละลายทางหลอดเลือดดาเป็นระยะ ๆ และไม่สามารถให้สารน้าและสารละลายทางหลอดเลือดดาส่วนปลายได้
ในผู้ป่วยโรคเลือดเรื้อรัง จำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด หรือให้เลือดและส่วนประกอบของเลือดเป็นระยะ ๆ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central line ทางหลอดเลือดดำใหญ่ๆ
ซึ่งจะให้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปาก หรือรับประทานอาหารทางปากได้ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำ
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/ นาที) เท่ากับ
(จำนวน Sol.(มล/ชม.) x (จำนวนหยดต่อมล.)
แล้วนำมาหารกับเวลา(นาที)
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้าที่จะให้ใน 1 ชม เท่ากับ ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้หารกับจำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
Isotonic solution
จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้านอกเซลล์ ซึ่งมีออสโมลาริตี้ระหว่าง 280-310 m0sm/l
เมื่อให้ทางหลอดเลือดดำจะไม่มีการ
เคลื่อนที่ของน้ำเข้าหรือออกจากเซลล์จึงช่วยเพิ่มปริมาตรของน้ำที่อยู่นอกเซลล์
Hypertonic solution
เป็นสารน้ำที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า
310 m0sm/l ซึ่งมีมากกว่าออสโมลาริตี้ของน้ำนอกเซลล์
สารน้ำอันนี้มีโมเลกุลอิสระของน้ำน้อยกว่าน้ำในเซลล์ และจะทำให้เกิดการดึงน้ำจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน
Hypotonic solution
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 m0sm/l ซึ่งค่า Osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์
เป็นสารน้าที่มีโมเลกุลอิสระของน้ามากกว่าในเซลล์ จึงทำให้เกิดการเคลื่อนของน้ำเข้าสู่เซลล์
การให้สารน้ำชนิดนี้ต้องให้อย่างช้า ๆ เพื่อป้องการลบกวนของเซลล์
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น หรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก จะบังคับการหยดได้ไม่ดีพอ อัตราการหยดจะเร็ว
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ เข็มขนาดใหญ่จะมีทางผ่านกว้าง อัตราการหยดจะเร็วกว่าใช้เข็มขนาดเล็ก
สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด จะทำให้สารน้ำผ่านไม่สะดวก อัตราการไหลจะช้าลง
ความหนืดของสารน้ำ ถ้าสารน้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด แน่นหรือตึงเกินไปรวมทั้งการนั่งจะปิดกั้นทางผ่านของสารน้ำ ทาอัตราการหยดช้าลง
ระดับขวดสารน้าสูงหรือต่ำเกินไป
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย อาจทำให้เข็มเคลื่อนที่ ปลายตัดของเข็มแนบ
ชิดผนังหลอดเลือด หรือแทงทะลุหลอดเลือด สารน้ำไหลไม่สะดวก อัตราการหยดจะช้าลง