Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
หลักการให้สารน้ำ
ทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
(Central venous therapy)
ซึ่งจะให้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปาก
รับประทานอาหารทางปากได้ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
เป็นการให้สารน้ าหรือของเหลวทาง Central line ทางหลอดเลือดดำใหญ่ ๆ
การให้สารน้ำและสารละลาย
ทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่าน
อุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
โดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่ เช่น
Subclavian vein, Right&Left Nominate vein
ป่วยที่จำเป็นต้องให้สารละลายทางหลอดเลือดดำเป็นระยะ ๆ เช่น ในผู้ป่วยโรคเลือดเรื้อรัง
การฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลว
ทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนัง
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้าส่วนปลาย
(Peripheral intravenous infusion)
หรือหลอดเลือดด าที่อยู่ในส่วนปลายของแขนและขา
โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ต้องงดอาหารและน้ำดื่ม เพื่อเตรียมผ่าตัด
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทางหลอด
เลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้น ๆ ของผิวหนัง
การให้เลือดและส่วน
ประกอบของเลือด
การให้และการรับ
เลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป ABรับได้จากทุกกรุ๊ป แต่ให้
เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB
คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A และ O ให้ได้กับ A และ AB
คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O เท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B และ O ให้ได้กับ B และ AB
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น
แต่ต้องดูกรุ๊ปเลือดตามระบบ ABO ด้วย (หาก
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve รับเลือดจาก Rh+ve
อาการข้างเคียงจะยิ่งรุนแรงมากขึ้น ในครั้งถัดๆไป)
การให้สารอาหาร
ทางหลอดเลือดดำ
ชนิดของสารอาหาร
ทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition (TPN)
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
ตำแหน่งของการให้สาร
อาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein)
การให้ทางหลอดเลือดด าใหญ่ (central vein)
ข้อบ่งชี้ในการให้สาร
อาหารทางหลอดเลือดดำ
โรคของอวัยวะต่างๆ เช่น ภาวะไตวาย
ภาวะทางศัลยกรรม เช่น ถูกน้ำร้อนลวก
โรคทางเดินอาหาร เช่น อุจจาระร่วงเรื้อรัง
ความผิดปกติของจิตใจ เช่น anorexia nervosa
โรคมะเร็งต่างๆ เช่น มะเร็งกระเพาะอาหาร
ขั้นตอนในการให้สารอาหาร
ทางหลอดเลือดดำ
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร
ตรวจสอบ PPN หรือ TPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือ TPN ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย
ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้ง สวมmask
นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วย
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแผนการรักษา
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป เช่น อาเจียน อุจจาระร่วงรุนแรง
การให้สารน้ำทาง
หลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่งของหลอด
เลือดดำที่จะแทงเข็ม
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม เช่น ไม่มีบาดแผล
ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ เพราะจะทำให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย
เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
อุปกรณ์เครื่องใช้
ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดด าส่วนปลาย
(Peripheral insertion devices) ทำด้วยเทฟล่อน
ขวดสารน้ำ โดยขวดสารน้ำ/ยา
อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น เสาแขวนขวดให้สารน้ำ ยางรัดแขน (Tourniquet) แผ่น
โปร่งใสปิดตำแหน่งที่แทงเข็ม (Transparent dressing) หรือก๊อซปลอดเชื้อ
ชนิดของสารน้ำที่ให้
ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไฮโปโทนิก
(Hypotonic solution)
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 m0sm/l ซึ่งค่า
Osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์
สารละลายไฮเปอร์โทนิก
(Hypertonic solution)
เป็นสารน้ำที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า
310 m0sm/l
ซึ่งมีมากกว่าออสโมลาริตี้ของน้ำนอกเซลล์
สารละลายไอโซโทนิก
(Isotonic solution)
จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์
มีออสโมลาริตี้ระหว่าง 280-310 m0sm/l
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตรา
การหยดของสารน้ำ
สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด แน่นหรือตึงเกินไป
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก จะบังคับการหยดได้ไม่ดีพอ
อัตราการหยดจะเร็ว
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
ความหนืดของสารน้ำ ถ้าสารน้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น
หรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับ
สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
(Embolism) ที่พบบ่อยจะเป็นก้อนเลือด
การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload)
พบได้ง่ายในผู้ป่วยเด็ก
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่
ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง (Local infiltration)
ไข้(pyrogenic reactions) เกิดจากมีสารแปลกปลอม
ซึ่งเป็นส่วนประกอบของโปรตีนเข้าสู่กระแสเลือด
การใช้กระบวนการพยาบาล
ในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้ั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล
(Planning)
ให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำตามแผนการรักษาและไม่เกิดอาการแทรกซ้อน
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล
(Implementation)
สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับผู้ป่วย เช่น มีผื่นขึ้นตามตัว
ถ้าสารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำรั่ว หรือทาง
เส้นเลือดดำอุดตัน ให้ไม่ได้ ควรรายงานให้แพทย์ทราบ
ประเมินสัญญาณชีพก่อนและขณะให้สารอาหารและติดตามทุก 2-4 ชั่วโมง
ดูแลทางด้านจิตใจ โดยอธิบายให้เข้าใจถึงความจ าเป็นในการได้สารอาหาร
ก่อนและขณะให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ควรมีการประเมินสภาพร่างกาย
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
(Nursing diagnosis)
มีโอกาสเกิดหลอดเลือดดำอักเสบจากการให้
สารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นเวลาหลายวัน
มีโอกาสเกิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียน
ของเลือดจากการให้สารอาหารทางหลอด
เลือดดำเป็นเวลาหลายวัน
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้
สารอาหารทางหลอดเลือดด้า (Evaluation)
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผล
ของการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมิน
คุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมา
ปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลการให้สารอาหาร
ทางหลอดเลือดดำ เป็นการประเมินผลลัพธ์
ขั้นตอนที่1 การประเมิน
สภาพผู้ป่วย (Assessment)
S: “รู้สึกปากแห้ง อยากเคี้ยวอาหารทางปาก”
O: Known case CA stomach S/P Subtotal gastrectomy มีรูปร่างผอมรับประทานอาหารทางปากและอาหารทางสายให้อาหารไม่ได้
การบันทึกสาร
น้ำเข้าออกร่างกาย
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนด
จำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิด
ที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร
อธิบายเหตุผลและความส าคัญของการวัดและ
การบันทึกจำนวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่น ๆ เช่น อาเจียน ท้องเดิน
การใช้กระบวนการพยาบาล
ในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่3 การวาง
แผนในการให้เลือด
วางแผนให้ผู้ป่วยได้รับเลือดและสารประกอบของเลือด
โดยประยุกต์ฃใช้หลักการ 6 Rights และหลักความ
ปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
วัตถุประสงค์ของการให้เลือดและสารประกอบของเลือดทดแทนปริมาณเลือดที่สูญเสียไป เช่น จากการตกเลือดหรือจากการผ่าตัด
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือด
และสารประกอบของเลือด
ล้างมือให้สะอาด ดึงที่ปิดถุงเลือดออก
เช็ดรอบ ๆ ด้วยส าลีชุบแอลกอฮอล์ 70% ต่อ blood set กับ ขวดเลือด
บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้ เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจ
ต่อ three ways กับ extension tube แล้วมาต่อกับ blood set ปิด clamp
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบรายชื่อนามสกุล
แขวนขวดเลือดกับเสาน้ าเกลือแขวนให้สูงประมาณ 1 เมตร (3 ฟุต)
ตรวจสอบชื่อนามสกุล Rh. ของผู้ป่วย HNกับป้ายข้างขวดเลือด
บีบ chamber ของ blood set ให้ เลือดไหลลงมา
ในกระเปาะประมาณ ½ ของกระเปาะ
ตรวจสอบแผนการรักษา และเขียนชื่อนามสกุลของผู้ป่วย
การเตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
เก็บอุปกรณ์ท าความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ขั้นตอนที่2
ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้เลือดและสารประกอบของเลือดตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการ
ให้เลือดและสารประกอบของเลือด
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการ
ประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุง
การปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการ
ประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมา
ปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลการให้เลือดและส่วน
ประกอบของเลือด เป็นการประเมินผลลัพธ์
ขั้นตอนที่1 การ
ประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
การใช้กระบวนการพยาบาลใน
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการ
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
วางแผนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำโดยประยุกต์ใช้หลักการ
6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLEของ patient safety goal
วัตถุประสงค์ของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ให้สารน้ำทดแทนน้ำที่สูญเสียจากร่างกาย เช่น ท้องเสีย อาเจียน เสียเลือด
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เครื่องใช้
tourniquet
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% ,extension tube , three ways
intravenous set (IV set)
IV stand (เสาน้ำเกลือ) , พลาสเตอร
intravenous catheter (IV cath.) เบอร์ 22/ 24
แผ่นฉลากชื่อ, ถุงมือสะอาด mask
intravenous fluid (IV fluid) ตามแผนการรักษา
วิธีทำการให้สารน้ำ
ทางหลอดเลือดดำ
บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจ
ล้างมือให้สะอาด
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบรายชื่อนามสกุล เตียงผู้ป่วยให้ตรงกับป้ายข้อมือผู้ป่วย
ดึงแผ่นโลหะที่ปิดขวดสารน้ำหรือฝาครอบที่ปิดถุงน้ำพลาสติกออก
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา และเขียนชื่อนามสกุลของผู้ป่วย ชนิดของสารน้ำวัน เวลาที่เริ่ม
เช็ดจุกยางที่ขวดหรือถุงสารน้ำด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ต่อ IV set กับ IV fluid
ต่อ three ways กับ extension tube แล้วมาต่อกับ IV set
ปิด clamp ที่ IV set
แขวนขวด IV fluid เสาน้ าเกลือแขวนให้สูงประมาณ 1 เมตร (3 ฟุต) จากผู้ป่วย
บีบ chamber ของ IV set ให้IV fluid ลงมาในกระเปาะประมาณ ½ ของกระเปาะ
การเตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ขั้นตอนที่2
ข้อวินิจฉัย
ความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการ
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน
เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการ
ประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน
การประเมินผลการให้
สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1
การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
อาการแทรกซ้อนจากการ
ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
ในระบบไหลเวียนของเลือด
(Systemic complication)
การพยาบาล
เปลี่ยนขวดให้สารน้ำ กรณีผู้ป่วยมีการแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ
ให้การช่วยเหลือตามอาการ
หยุดให้สารน้ำ
วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
เตรียมรถ Emergency ในการช่วยเหลือเร่งด่วน
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
ส่งเลือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป (Circulatory overload) เกิดจากอัตราการหยดของสารน้ำเร็วเกินไปอาจเกิดอาการหัวใจวาย
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด (Air embolism)
เกิดจากการไล่ฟองอากาศในชุดสายให้สารน้ำไม่หมด
การติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia หรือ Septicemia) มีไข้สูง
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ (Allergic reaction)
มีผื่นแพ้เกิดขึ้นที่ผิวหนัง ร่วมกับอากการแพ้ต่างๆ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
เฉพาะที่ (Local complication)
การติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection) บวมแดง ร้อน
หลอดเลือดดำอักเสบ (Phlebitis) ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวม
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้
ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม (Extravasations)
การพยาบาล
หยุดให้สารน้ำจัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
ประคบด้วยความร้อนเปียก
เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย เพื่อลดอาการบวม
ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอก หลอดเลือดดำ (Infiltration)
การคำนวณอัตรา
การหยดของสารน้ำ
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมงปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ หารจำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/ นาที) = จำนวน Sol.(มล/ชม.) x จำนวนหยดต่อมล.) หาร เวลา/นาที
อาการแทรกซ้อนจากการให้เลือด
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction) เกิดจาก
ผู้รับแพ้สารอย่างใดอย่างหนึ่งในเลือดที่ได้รับ
การถ่ายทอดโรค (Transfusion-associated graftversushost disease) มักเกิดจากการขาดการตรวจสอบเลือดของผู้ให้
ไข้ (Febrile transfusion reaction)เกิดจากการ
ได้รับสารที่ทำให้เกิดไข้เชื้อแบคทีเรียจาก
เครื่องใช้หรือเทคนิคการให้เลือดที่ไม่สะอาด
การอุดตันจากฟองอากาศ (Air embolism) เกิดจากการไล่ฟองอากาศไม่หมดไปจากสายให้เลือดอากาศจะลอยไปตามกระแสเลือด
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป (Volume overload)เกิดจากการให้เลือดในอัตราเร็วเกินไป
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ (Hyperkalemia) เกิดจากการให้เลือดที่เก็บไว้ในธนาคารเลือดนานเกินไป
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
เกิดจากการให้เลือดผิดหมู่
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริม
ความสมดุลของน้ำในร่างกาย
การวางแผนการ
พยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบที่รุนแรงขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
ภาวะหลอดเลือดดำอักเสบลดลง
อาการปวดบริเวณที่ให้สารน้ำลดลง
โดยใช้แบบประเมินความปวด (Pain scale)
การปฏิบัติการพยาบาล
(Implementation)
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
จัดมือซ้ายที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย โดยใช้หมอนรอง เพื่อลดอาการบวม
ประเมินอาการบวมที่หลังมือซ้ายทุกเวร หากบวมมากขึ้น ผู้ป่วยมีไข้
เปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม
หยุดให้สารน้ำทันที
ประเมินการขาดสารน้ำและอิเล็คโตรไลท์ โดยบันทึก
ลดภาวะเครียดโดยให้ความช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
(Nursing diagnosis)
มีภาวะหลอดเลือดดำอักเสบจากการได้
รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำเป็นเวลานาน
การประเมินผลการ
พยาบาล (Evaluation)
ประเมินอาการหลอดเลือดดำอักเสบ
บริเวณหลังมือ (อาการบวมลดลง)
ปริมาณสารน้ำเข้าแล้ว
ออกมีความสมดุล
ประเมินอาการปวดของผู้ป่วย
การประเมินภาวะสุขภาพ
(Health assessment)
S : ผู้ป่วยบ่นปวดบริเวณที่ให้สารน้ำมาก ขอเปลี่ยนตำแหน่งที่แทงเข็มใหม่
O : จากการสังเกตบริเวณที่หลังมือซ้ายบวมแดง
หลอดเลือดดำที่ให้สารน้ำเป็นลำแข็ง