Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการบริหารทางการพยาบาล, นางสาวพรชิตา วงเดือน 60170036 - Coggle Diagram
กระบวนการบริหารทางการพยาบา
ล
การวางแผน
ประเภทของการวางแผน
2. จำแนกตามระดับการจัดการ
2) การวางแผนบริหาร
3) การวางแผนปฏิบัติการ
1) การวางแผนกลยุทธ์
3. จำแนกตามระดับโครงสร้างการบริหารรประเทศ
2) แผนระดับภาค
3) แผนระดับท้องถิ่น
1) แผนระดับชาติ
1.จำแนกตามเวลา
2) การวางแผนระยะปานกลาง
3) การวางแผนระยะยาว
1) การวางแผนระยะสั้น
4. จำแนกตามหน้าที่การงาน
2) การวางแผนด้านบุคลากร
3) การวางแผนด้านการตลาด
1) การวางแผนด้านการผลิต
4) การวางแผนด้านการเงิน
การจัดการเชิงกลยุทธ์ทางการพยาบาล
กระบวนการทางการบริหารงานที่มุ่งเน้นการวางแผน
แผนกลยุทธ์
ขั้นตอนสำคัญของการจัดการเชิงกลยุทธ์
การวางแผนกลยุุทธ์
วิสัยทัศน์
3) ต้องท้าทายความสามารถของสมาชิกทุกคน
คำนึงถึงผู้รับบริการเป็นสำคัญ
2) เป็นภาพเชิงบวกที่สะท้อนความเป็นเลิศขององค์กรในอนาคต
5) มีความสอดคล้องกับแนวโน้มในอนาคต
1) มีความชัดเจน สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้
2. พันธกิจ
4) ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของบุคลากรให้ทำงานได้อย่างมีความสุข
5) ส่งเสริมการวิจัย / นวัตกรรมและการนำผลการวิจัยมาใช้พัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลและแก้ปัญหาสุขภาพประชาชน
3) พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะในการให้บริการ มีคุณธรรมและจริยธรรม
6) สนับสนุนการเรียนการสอนในคลินิก
2) พัฒนาระบบบริหารจัดการทางการพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพด้วยหลักธรรมาภิบาล
7) ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและบำรุงศิลปวัฒนธรรม
1) พัฒนาระบบบริหารพยาบาลตามมาตรฐานวิชาชีพที่มีคุณภาพครอบคุม 4 มิติ
8) สนับสนุนการพัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพ
3. เป้าประสงค์
4) ต้องเป็นรูปธรรม สามารถแปลงเป็นกิจกรรมที่ง่ายต่อการมอบหมาย และการ กระจายงาน
5) ต้องเป็นไปได้ด้วยทรัพยากร และบุคลากรที่มีอยู่จริง
3) ระบุคุณค่า ผลประโยชน์ ความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อกลุ่มเป้าหมาย
6) ต้องสามารถจัดการกับเรื่องต่างๆ ได้หลายๆ เรื่องพร้อมๆ กัน
2) ระบุกลุ่มเป้าหมายที่องค์กรจะมอบสิ่งที่มีคุณค่าให้
7) มีความเกี่ยวข้องกับความอยู่รอดขององค์กร
1) ขยายหลักการ สาระสำคัญที่ระบุไว้ในวิสัยทัศน์และพันธกิจให้มีความเป็นรูปธรรมมากขึ้น
4. เป้าหมาย
2) เป็นทางเลือกที่มีเหตุผล และลดความขัดแย้ง
3) เฉพาะเจาะจง ชัดเจน
4) ตกลงร่วมกัน
1) สามารถวัดผลได้ในแง่ ปริมาณ คุณภาพ เวลา กลุ่มเป้าหมาย ต้นทุน ฯลฯ
5) สมเหตุผล
6) กำหนดเวลาชัดเจน
การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ
2.การปรับโครงสร้างองค์กร
3.การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในส่วนของระบบและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
1.การกำหนดแผน และการจัดสรรทรัพยากร
4.การกระจายกลยุทธ์
การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์
จุดอ่อน
โอกาส
จุดแข็ง
อุปสรรค
การควบคุมและประเมิณผลกลยุทธ์
กระบวนการควบคุมกลยุททธ์
วัดการปฏิบัตติงานจริง
กำหนดสิ่งที่จะวัด
เปรียบเทียบการปฏิบัติงานจริงกับมาตรฐาน
ปฏิบัติการแก้ไข
กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน
การประเมิณผลกลยุทธ์
มีประสิทธิผล
มีประสิทธิภาพ
ประหยัด
รูปแบบการตัดสินใจ หรือแผนการปฏิบัติการที่ผู้บริหารนำมาใช้เพื่อเป็นรอบแนวทาง
การจัดการองค์กร
องค์ประกอบสำคัญ
ขอบเขตการควบคุม
การรวมศูนย์และการกระจายอำนาจ
สายการบังคับบัญชา
5.ความเป็นทางการ
ลักษณะเฉพาะของงาน
ขั้นตอนการจัดองค์การ
พิจารณากำหนดวัตถุประสงค์ที่ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการกำหนดโครงสร้างองค์กร
พิจารณาจัดทำนโยบายหลักที่ซึ่งจะเป็นเครื่องมือนำทางสำหรับองค์กร
ระบุจุดมุ่งหมายขององค์กร
การพิจารณาหน้าที่งานต่าง ๆ ที่พึงต้องปฏิบัติเพื่อให้สำเร็จตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้
การจัดแผนกงานของหน้าที่งานต่าง ๆ โดยวิธีการแบ่งกลุ่มงานที่เหมือนกันและสัมพันธ์กันให้เข้าเป็นกลุ่ม ๆ เป็นหน่วยงานหน่วยต่าง ๆ
การจัดรูปแบบโครงสร้างองค์กรให้เป็นหลักฐานพร้อมเอกสารคู่มือองค์กร
พัฒนาระเบียบวิธีปฏิบัติที่จะใช้เพื่อการปฏิบัติงานตามหน้าที่งานขององค์กร
วิเคราะห์และกำหนดความชำนาญของพนักงานที่จำเป็น และต้องการสำหรับการทำงานตามที่งาน และระเบียบปฏิบัติ
จัดทำคำบรรยายลักษณะงานซึ่งประกอบด้วยการมอบหมายความรับผิดชอบ และอำนาจหน้าที่
จัดคนเข้าทำงาน โดยการบรรจุคนที่เหมาะสมลงในตำแหน่งงานต่าง ๆ
ประเภทของโครงสร้างองค์การ
โครงสร้างองค์กรแบบหน่วยงานหลัก และหน้าที่เฉพาะ
โครงสร้างองค์กรแบบ เมตริกซ์
โครงสร้างองค์กรแบบหน้าที่เฉพาะ
โครงสร้างองค์กรแบบคณะกรรมการ
โครงสร้างองค์กรแบบหน่วยงานหลัก
โครงสร้างองค์กรแบบหน่วยเฉพาะกิจ
ความหมาย
โครงสร้างองค์การ เป็นการบ่งบอกว่างานขององค์การจัดแบ่งย่อย จัดรวมกลุ่มและประสานงานกัน อย่างไร ในการออกแบบโครงสร้างองค์การ
คณะผู้ร่วมงาน
การบริหารทรัพยากรบุคคล
การบรรจุแต่งตั้ง
การทดลองปฏิบัติราชการ
การเลื่อนตำแหน่ง
การประเมิณผลการปฏิบัติงาน
การวางแผนกำลังพ
ล
การกำหนดตำแหน่งและอัตราเงินเดือน
การสรรหาและเลือกสรร
การพ้นจากราชการ
สวัสดิการ
การพัฒนาบุคคล
การเลื่อนขั้นเงินเดือน
การให้ค่าตอบแทน เงินเดือน โดยยึดระบบคุณธรรม
หลักความมั่นคง Security ถือว่าการเข้าทำงานในองค์เป็นอาชีพอาชีพหนึ่งการกำหนดค่าตอบแทนเงินเดือน ให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิต การเข้า ออก จากงาน มีกฎหมาย กฎเกณฑ์รอบรับที่ชัดเจนเป็นธรรม
ความเป็นกลางทางการเมือง Political neutrality คือ การทำงานไม่เกี่ยวข้องกับ การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง หรือการเปลี่ยนรัฐบาล
หลักความเสมอภาค Equality ให้โอกาสคนเสมอกันไม่เลือกชั้นวรรณะ
หลักสำคัญในการให้เงินเดือน คือ งานมาก งานยาก รับผิดชอบสูงให้เงินเดือนสูง งานน้อย งานไม่ยาก รับผิดชอบน้อย เงินเดือนน้อย
หลักความสามารถ Competence ยึดผลงานตามความสามารถเหมาะกับเงินค่าตอบแทน
การอำนวยการและสั่งการ
การส่งเสริม ช่วยเหลือ ปรึกษา แนะนำ สั่งการ ประสานกิจกรรม การติดต่อ การมอบหมายภารกิจต่าง ๆ เพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมาย หรือ แผนที่วางไว้
กิจกรรมอำนวยการที่สำคัญ
การตัดสินใจและสั่งการ ( Decision Making )
การสั่งงาน ( Order )
การประสานงาน ( Coordinating )
การติดตามดูแลกำกับ และให้คำปรึกษา ( Supervising & Guiding )
การสร้างขวัญกำลังใจ และแรงจูงใจ ( Moral and Motivating )
การใช้ภาวะผู้นำ ( Leadership )
การสร้างมนุษย์สัมพันธ์ ( Human Relation )
การจัดระบบสื่อสารและการสร้างเครือข่าย ( Net Work and Communicating )
การมอบหมายงานและการมอบอำนาจหน้าที่ ( Take Oder & Delegating )
การส่งเสริมกิจกรรมอื่น ๆ ( Supporting )
การดูแลปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ หากมีปัญหาเกิดขึ้น จะต้องมีการไตร่ตรองตัดสินใจเลือกแนวทางที่ดีที่สุด เพื่อการแก้ไขปัญหา นอกจากนี้ยังรวมถึงการกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจในการทำงานอีกด้วย
การประสานงาน
วิธีการประสานงานที่สำคัญ
ทำแผนปฏิบัติงาน และแผนควบคุมการปฏิบัติงาน
การกำหนดส่งงาน
ตั้งคณะกรรมการ ตามแผนงาน
การระบุการจัดสรรงบประมาณ การจัดกิจกรรม การควบคุมกิจกรรม
จัดทำคำสั่ง กำหนดหน้าที่ชัดเจน
การจัดประชุม สัมมนา การกระจายข่าว
การจัดทำแผนผัง กำหนดหน้าที่การงานของหน่วยงาน แผนภูมิ ป้ายทะเบียน เป็นต้น
วัตถุประสงค์ของการประสานงาน
เกิดประสิทธิภาพ ประหยัดแรงงาน เวลา และวัสดุอุปกรณ์
ลดความขัดแย้ง ระหว่างผู้ปฏิบัติกับองค์กร
ช่วยให้เกิดความร่วมมือในการปฏิบัติงาน
การควบคุมงาน
ควรใช้วิธีการควบคุมงานตามแผนงานบริหาร จุดประสงค์เป็นตัวชี้นำ M.B.O.
ควรใช้วิธีการควบคุมงานแบบง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน เห็นผลชัดเจนตามจุดสำคัญ
จัดระบบติดต่อสื่อสารให้ทั่วถึง Net work ให้มีการประสานงานสอดคล้องต่อเนื่อง สามารถรายงานกิจกรรมได้ทันท่วงที
ให้กำลังใจอย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอ
กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน หรือเป้าหมายการปฏิบัติงานในลักษณะที่ท้าทาย
พยายามป้องกันพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงาน ให้เป็นไปในเชิงบวก สร้างสรรค์
การประเมิณผลงาน
วิธีการวัดผลเปรียบเทียบเกณฑ์ถัวเฉลี่ยในแง่ต่าง ๆ (Statistical Approach)
วิธี Compliance
การใช้ผู้ชำนาญการที่ปรึกษาจากภายนอก (consultant)
วิธีการประเมินผลตามวัตถุประสงค์ (Management by Objectives Approach)
การใช้วิธีเลียนแบบ (copy)
ความหมาย
การประสานงานจึงเป็นหน้าที่ของผู้บริหาร ที่จะต้องมีความสามารถที่จะติดต่อกับหน่วยงานหรือบุคลากรได้ทุกลักษณะ ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อกับผู้บังคับบัญชา หรือผู้ใต้บังคับบัญชา จึงจำเป็นต้องมีทักษะในด้านมนุษยสัมพันธ์
สิ่งที่จะช่วยให้เกิดการประสานงานที่ดีก็คือ การติดต่อสื่อสารที่ดี
การประสานงานโดยจัดวางระเบียบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เพื่อไม่ให้งานซ้ำซ้อน การติดต่อสื่อสารที่ดีจะช่วยให้เกิดการประสานงานที่ดี สามารถลดความขัดแย้ง และทำให้คุณภาพของงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน
การรายงานผลงาน
สิ่งที่จำเป็นควรเน้นพิเศษในการรายงา
น
รายงานการใช้ทรัพยากร มีการใช้ทรัพยากรอะไรไปบ้าง มีปัญหาอุปสรรคอย่างไร
รายงานเกี่ยวกับผลที่เกิดขึ้น
1.รายงานเป็นกระบวน INPUT PROCESS OUTPUT
รายงานเกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดขึ้น Feed Back เป็นการรายงานในภาพรวม
ลักษณะสำคัญ
รายงานขณะปฏิบัติงาน
การรายงานเมื่อสิ้นสุดแผนงาน
การที่ผู้มีหน้าที่เสนอผลของงาน หรือกิจกรรม ให้ผู้บริหาร หรือผู้ร่วมงานได้ทราบ
การงบประมาณ
ต้นทุน Cost คือ เงินหรือทรัพย์สินของที่ใช้ในการดำเนินงานขององค์กร
งบประมาณ Budget หมายถึงทุนในการดำเนินงาน
1) งบประมาณภาคราชการ
2) งบประมาณของภาคเอกชน
ผู้บริหารต้องศึกษาให้เข้าใจ และต้องมีความสามารถในการจัดหางบประมาณให้เพียงพอในการใช้จ่ายในกิจกรรมต่างๆในองค์กร และจะต้องมีความสามารถในการควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณให้เป็นไปตามโครงการ และแผนงานที่กำหนดไว้ การใช้จ่ายเงินต้องเป็นไปในลักษณะประหยัด
การจัดทำงบประมาณการเงิน เริ่มตั้งแต่วางแผนจัดทำโครงการใช้จ่ายเงิน การบัญชี และการควบคุมการดูแลการใช้จ่ายให้รัดกุม
นางสาวพรชิตา วงเดือน 60170036