Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พรบ.วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท พศ.2559 - Coggle Diagram
พรบ.วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท พศ.2559
หมวด 11 การค้าระหว่างประเทศ
มาตรา 100
การนำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ของผู้รับอนุญาต
มาตรา 101
การนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1 ประเภท 2 หรือประเภท 3
มาตรา 102
การส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1 หรือประเภท 2
มาตรา 103
การนำผ่านซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1 หรือประเภท 2
มาตรา 104
สิ่งที่ผู้รับอนุญาตนำเข้า ส่งออกหรือนำผ่านซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภทต้องทำ
มาตรา 105
การนำผ่านซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท
มาตรา 10ุ6
กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงการส่งวัตถุออกฤทธิ์ไปยังจุดหมายอื่น
มาตรา 10ุ7
ระหว่างที่มีการนำผ่านซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1 หรือประเภท 2
มาตรา 10ุ8
กรณีที่มีเหตุฉุกเฉินหรือจำเป็น
มาตรา 10ุ9
ข้อห้ามของการนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท
มาตรา 110
การส่งออกแต่ละครั้งซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4
มาตรา 111
กรณีที่กระทรวงสาธารณสุขได้รับแจ้งการห้ามนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์
มาตรา 112
ห้ามผู้ใดส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ไปยังประเทศที่ระบุห้ามนำเข้า
มาตรา 113
การมีวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 ประเภท 3 หรือประเภท 4 ไว้ครอบครอง
มาตรา 114
สิ่งที่ผู้ควบคุมยานพาหนะตามมาตรา 113 ต้องทำ
หมวด 12 บทกำหนดโทษ
มาตรา 115
โทษของผู้ที่ฝ่าฝืนมาตรา 14
มาตรา 116
โทษของผู้ที่ขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1
มาตรา 117
โทษของผู้ที่ผลิต นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2
มาตรา 118
โทษของผู้ที่ขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2
มาตรา 119
โทษของผู้ที่ผลิต นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4
มาตรา 120
โทษของผู้ที่ขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4
มาตรา 121
โทษของผู้ที่ดำเนินการภายหลังที่ใบอนุญาตสิ้นอายุแล้ว โดยมิได้ยื่นคำขอต่ออายุใบอนุญาต
มาตรา 122
โทษของผู้ที่รับอนุญาตที่ฝ่าฝืนมาตรา 27 หรือมาตรา 42
มาตรา 123
โทษของผู้รับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2
มาตรา 124
โทษของผู้รับอนุญาตที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 30 วรรคหนึ่ง หรือฝ่าฝืนมาตรา 30 วรรคสอง
มาตรา 125
โทษของผู้รับอนุญาตที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 31 มาตรา 32 มาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 37 หรือมาตรา 38
มาตรา 126
โทษของผู้รับอนุญาตที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 40 วรรคหนึ่ง มาตรา 41 หรือมาตรา 69 วรรคหนึ่ง
มาตรา 127
โทษของผู้รับอนุญาตที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 43 วรรคหนึ่ง
มาตรา 128
โทษของผู้รับอนุญาตที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 47 วรรคหนึ่ง
มาตรา 129
โทษของเภสัชกรที่ละทิ้งหน้าที่หรือไม่ปฏิบัติหน้าที่
มาตรา 130
โทษของเภสัชกรที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 56
มาตรา 131
โทษของผู้ที่ผลิต นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ปลอม
มาตรา 132
โทษของผู้ที่ผลิต นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ผิดมาตรฐาน
มาตรา 133
โทษของผู้ที่ขาย นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์เสื่อมคุณภาพ
มาตรา 134
โทษของผู้ที่ผลิต ขาย นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียนไว้
มาตรา 135
โทษของผู้ที่ผลิต นำเข้าหรือส่งออกวัตถุออกฤทธิ์ที่รัฐมนตรีสั่งเพิกถอนทะเบียนวัตถุตำรับ
มาตรา 136
โทษของผู้ที่ขายวัตถุออกฤทธิ์อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 61
มาตรา 137
โทษของผู้ที่แก้ไขรายการทะเบียนวัตถุตำรับที่ขึ้นทะเบียนไว้แล้ว
มาตรา 138
โทษของผู้ที่โฆษณาวัตถุออกฤทธิ์อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 70
มาตรา 139
โทษของผู้ที่สู้หรือขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้า
มาตรา 140
โทษของผู้ที่ครอบครองหรือใช้ประโยชน์ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1 หรือประเภท 2
มาตรา 141
โทษของผู้ที่เสพวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1
มาตรา 142
โทษของผู้ที่เสพวัตถุออกฤทธิ์
มาตรา 143
โทษของผู้ที่ขัดขวางหรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานฝ่ายปกครอง
มาตรา 144
โทษของผู้รับอนุญาตที่ไม่จัดให้มีการป้องกันเพื่อไม่ให้วัตถุออกฤทธิ์สูญหายหรือมีการนำไปใช้
มาตรา 145
โทษของผู้ที่ฝ่าฝืนมาตรา 96
มาตรา 146
โทษของเภสัชกรที่ขายวัตถุออกฤทธิ์อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 97 วรรคหนึ่ง หรือมาตรา 98
มาตรา 147
โทษของเภสัชกรที่ไม่จัดให้มีการลงบัญชีรายละเอียดการขาย
มาตรา 148
โทษของผู้รับอนุญาตที่นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ตามมาตรา 14 มาตรา 15 หรือมาตรา 20
มาตรา 149
โทษของผู้รับอนุญาตที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 101 วรรคหนึ่ง มาตรา 102 วรรคหนึ่ง มาตรา 103 วรรคหนึ่ง มาตรา 106 วรรคสอง หรือมาตรา 110 วรรคหนึ่ง
มาตรา 150
โทษของผู้ควบคุมยานพาหนะผู้ใดไม่ปฏิบัติหน้าที่
มาตรา 151
โทษของผู้รับอนุญาตนำเข้า ส่งออกหรือนำผ่านซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 104
มาตรา 152
โทษของผู้ที่ฝ่าฝืนมาตรา 105 มาตรา 107 หรือมาตรา 112 วรรคหนึ่ง
มาตรา 153
โทษของผู้ที่ฝ่าฝืนมาตรา 109
มาตรา 154
โทษของผู้ควบคุมยานพาหนะที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 114
มาตรา 155
โทษของผู้ที่เสพและมีไว้ในครอบครองเพื่อขาย หรือเสพและขายซึ่งวัตถุออกฤทธิ์
มาตรา 156
โทษของผู้ที่ทำการบำบัดรักษาผู้ติดวัตถุออกฤทธิ์เป็นปกติไม่ว่าโดยวิธีใดซึ่งมิได้กระทำในสถานพยาบาล
มาตรา 157
กรณีที่ทำความผิดโดยใช้วัตถุออกฤทธิ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ยานพาหนะหรือทรัพย์สินอื่น
มาตรา 158
วัตถุออกฤทธิ์ ภาชนะหรือหีบห่อบรรจุวัตถุออกฤทธิ์และเอกสารที่เกี่ยวข้องที่ยึดไว้ตามมาตรา 74 หรือตามกฎหมายอื่น
มาตรา 159
กรณีที่มีการฟ้องคดีความผิดเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์ต่อศาล
มาตรา 160
บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ซึ่งมีโทษปรับสถานเดียว
มาตรา 161
โทษของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองผู้ใด ผลิต ขาย นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ หรือสนับสนุนในการกระทำดังกล่าว
มาตรา 162
วามผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษจำคุกและปรับ ให้ศาลลงโทษจำคุกและปรับด้วยเสมอ
มาตรา 163
การพิจารณาของศาล
มาตรา 164
การลดโทษของศาล
หมวด 2 การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์
มาตรา 20
ผลิต ขาย นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4 หรือนำผ่านซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท เว้นแต่ได้รับใบอนุญาต
มาตรา 21
เงื่อนไขที่มาตรา 20 ไม่บังคับ
มาตรา 19
คุณสมบัติของผู้ขออนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2
มาตรา 22
คุณสมบัติของผู้ขออนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 และ 4
มาตรา 18
เงื่อนไขที่มาตรา 15 ไม่บังคับ
มาตรา 17
การอนุญาติยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งสาธารณะ
มาตรา 23
การควบคุมของมาตรา 14 มาตรา 15 มาตรา 16 มาตรา 20 มาตรา 88 และมาตรา 100
มาตรา 16
ห้ามขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 เว้นแต่ได้รับใบอนุญาต
มาตรา 24
ระยะเวลาการใช้ใบอนุญาตตามมาตรา 16 มาตรา 20 มาตรา 28 และมาตรา 88
มาตรา 15
ห้ามผลิต นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 เว้นแต่ได้รับใบอนุญาต
มาตรา 14
ห้ามผลิต ขาย นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1 เว้นแต่ได้รับใบอนุญาต
มาตรา 25
การยื่นอุทธรณ์ของผู้ขออนุญาตหรือผู้ขอต่ออายุใบอนุญาต
มาตรา 26
ให้ผู้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติการตามกฎหมายว่าด้วยยาอีก
หมวด 10 มาตรการควบคุมพิเศษ
มาตรา 85
ให้ถือว่าวัตถุตำรับที่มีวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทหนึ่งประเภทใดปรุงผสมอยู่เป็นวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทนั้นด้วย
มาตรา 86
กรณีที่วัตถุตำรับมีวัตถุออกฤทธิ์อันระบุอยู่ในประเภทต่างกันมากกว่าหนึ่งประเภทผสมอยู่
มาตรา 87
ลักษณะของวัตถุตำรับที่ยกเว้นได้
มาตรา 88
ห้ามผู้ใดมีไว้ในครอบครองหรือใช้ประโยชน์ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท เว้นแต่ได้รับใบอนุญาต
มาตรา 89
กรณีที่มาตรา 88 ไม่บังคับใช้
มาตรา 90
การครอบครองวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4
มาตรา 91
ห้ามผู้ใดเสพวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1
มาตรา 92
ห้ามผู้ใดเสพวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2
มาตรา 93
ห้ามผู้ใดจูงใจ ให้ผู้อื่นเสพวัตถุออกฤทธิ์
มาตรา 94
กรณีจำเป็นและมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดเสพวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1 หรือประเภท 2
มาตรา 95
สิ่งที่ผู้รับอนุญาตผลิต ขาย นำเข้า ส่งออก นำผ่านหรือมีไว้ในครอบครอง หรือใช้ประโยชน์ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ต้องทำ
มาตรา 96
สถานที่ผลิต สถานที่ขาย หรือสถานที่นำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ต้องมีเภสัชกรควบคุม
มาตรา 97
ขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4
มาตรา 98
ขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4 สำหรับผู้ป่วยหรือสัตว์ป่วยโดยไม่ต้องมีใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชาชีพ
มาตรา 99
การส่งมอบวัตถุออกฤทธิ์ตามมาตรา 97 หรือมาตรา 98
หมวด 6 การขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับ
มาตรา 65
กรณีที่คณะกรรมการมีอำนาจไม่รับขึ้นทะเบียนวัตถุตำหรับ
มาตรา 66
การแก้ไขรายการทะเบียนวัตถุตำรับโดยอนุโลม
มาตรา 64
การแก้ไขรายการทะเบียนวัตถุตำรับที่ขึ้นทะเบียนไว้แล้ว
มาตรา 67
ระยะเวลาการใช้งานใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับ
มาตรา 63
การขอขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับตามมาตรา 62
มาตรา 68
กรณีพบว่าวัตถุตำรับไม่มีสรรพคุณตามที่ขึ้นทะเบียนไว้ หรืออาจไม่ปลอดภัยแก่ผู้ใช้ หรือเป็นวัตถุออกฤทธิ์ปลอม หรือใช้ชื่อผิดไปจากที่ขึ้นทะเบียนไว้
มาตรา 62
สิ่งที่ผู้รับอนุญาตผลิตหรือนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4 ต้องทำ
มาตรา 69
กรณีที่ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับสูญหายหรือถูกทำลายในสาระสำคัญ
หมวด 8 พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 76
พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัวต่อผู้รับอนุญาตหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 77
ผู้รับอนุญาตและบุคคลที่เกี่ยวข้องอำนวยความสะดวกตามสมควร
มาตรา 75
พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจตรวจสอบหรือวิเคราะห์วัตถุออกฤทธิ์
มาตรา 78
พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 74
อำนาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้า
หมวด 3 หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
มาตรา 27
ห้ามผู้รับอนุญาตผู้ใด ผลิต ขาย นำเข้าหรือเก็บไว้ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภทนอกสถานที่ที่ระบุไว้ในใบอนุญาต
มาตรา 28
การออกใบอนุญาตให้ผู้รับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4 นอกสถานที่
มาตรา 29
เงื่อนไขการขออนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2
มาตรา 30
เงื่อนไขของผู้รับอนุญาตผลิต นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2
มาตรา 31
สิ่งที่ผู้รับอนุญาตผลิตวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 ต้องปฏิบัติ
มาตรา 32
สิ่งที่ผู้รับอนุญาตผลิตวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 และ 4 ต้องปฏิบัติ
มาตรา 33
สิ่งที่ผู้รับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 ต้องปฏิบัติ
มาตรา 34
สิ่งที่ผู้รับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 และ 4 ต้องปฏิบัติ
มาตรา 35
สิ่งที่ผู้รับอนุญาตนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 ต้องปฏิบัติ
มาตรา 36
สิ่งที่ผู้รับอนุญาตนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 และ 4 ต้องปฏิบัติ
มาตรา 37
สิ่งที่ผู้รับอนุญาตส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 ต้องปฏิบัติ
มาตรา 38
สิ่งที่ผู้รับอนุญาตส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 และ 4 ต้องปฏิบัติ
มาตรา 39
การบังคับของมาตรา 30 วรรคหนึ่ง มาตรา 31 มาตรา 32 มาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 37 และมาตรา 38
มาตรา 40
กรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทำลายในสาระสำคัญ
มาตรา 41
ผู้รับอนุญาตต้องแสดงใบอนุญาตของตน
มาตรา 42
การย้ายสถานที่ผลิต หรือสถานที่ขาย
มาตรา 43
การขออนุญาตเพื่อแก้ไขรายการในใบอนุญาต
มาตรา 44
การเลิกกิจการที่ได้รับอนุญาต
มาตรา 45
การขายกิจการที่เหลืออยู่แก่ผู้รับอนุญาตรายอื่นกรณีเลิกกิจการ
มาตรา 46
กรณีผู้รับอนุญาตตาย
มาตรา 47
การดำเนินกิจการเกี่ยวกับการผลิต การขาย การนำเข้า การส่งออก การนำผ่าน หรือการมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ที่มิใช่วัตถุตำรับยกเว้น
หมวด 9 การพักใช้ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา 79
การสั่งพักใช้ใบอนุญาต
มาตรา 80
ผู้รับอนุญาตที่ขาดคุณสมบัติ
มาตรา 81
การทำคำสั่งพักใช้ใบอนุญาตและคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา 82
การยกเลิกคำสั่งพักใช้ใบอนุญาตก่อนกำหนด
มาตรา 83
การยื่นอุทธรณ์ของผู้ที่ถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา 84
สิ่งที่ผู้ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตต้องทำ
หมวด 4 หน้าที่ของเภสัชกร
มาตรา 48
หน้าที่ของเภสัชกรที่ควบคุมการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2
มาตรา 49
หน้าที่ของเภสัชกรที่ควบคุมการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 และ 4
มาตรา 50
หน้าที่ของเภสัชกรที่ควบคุมการขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2
มาตรา 51
หน้าที่ของเภสัชกรที่ควบคุมการขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 และ 4
มาตรา 52
หน้าที่ของเภสัชกรที่ควบคุมการนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2
มาตรา 53
หน้าที่ของเภสัชกรที่ควบคุมการนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 และ 4
มาตรา 54
หน้าที่ของเภสัชกรที่ควบคุมการส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2
มาตรา 55
หน้าที่ของเภสัชกรที่ควบคุมการส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 และ 4
มาตรา 56
กรณีที่เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุมกิจการไม่ประสงค์จะปฏิบัติหน้าที่ต่อไป
หมวด 7 การโฆษณา
มาตรา 71
กรณีฝ่าฝืนมาตรา 70
มาตรา 72
การยื่นอุทธรณ์ของผู้ที่กระทำผิดในมาตรา 71
มาตรา 70
กรณีที่สามารถโฆษณาวัตถุออกฤทธิ์ได้
มาตรา 73
การอุทธรณ์ตามมาตรา 32
หมวด 5 วัตถุออกฤทธิ์ที่ห้ามผลิต ขาย นำเข้าหรือส่งออก
มาตรา 57
วัตถุออกฤทธิ์ที่ห้าม ผลิต ขาย นำเข้าหรือส่งออก
มาตรา 58
วัตถุออกฤทธิ์ที่เป็นวัตถุออกฤทธิ์ปลอม
มาตรา 59
วัตถุออกฤทธิ์ที่เป็นวัตถุออกฤทธิ์ผิดมาตรฐาน
มาตรา 60
วัตถุออกฤทธิ์ที่เป็นวัตถุออกฤทธิ์เสื่อมคุณภาพ
มาตรา 61
ห้ามผู้ใดขายวัตถุออกฤทธิ์ตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปหรือขายวัตถุออกฤทธิ์และยารวมกันหลายขนาน โดยจัดเป็นชุดไว้ล่วงหน้า เพื่อประโยชน์ทางการค้า
หมวด 1 คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
มาตรา 10
การพ้นจากตำแหน่งตามวาระ ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรา 11
การประชุมของคณะกรรมการ
มาตรา 9
วาระการดำรงตำแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรา 12
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
มาตรา 8
องค์ประกอบของคณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
มาตรา 13
คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ