Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้สารน้าทางหลอดเลือดดำ
การฉีดของเหลวเข้าหลอดเลือดดำโดยตรง
วัตถุประสงค์
ให้สารอาหาร วิตามิน และเป็นแหล่งพลังงานแก่ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้ หรือได้ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
รักษาภาวะสมดุลของความเป็นกรด-ด่างในร่างกาย
รักษาภาวะสมดุลของน้าและสารน้้ำในร่างกาย
รักษาภาวะสมดุลและปริมาตรของเลือดและส่วนประกอบของเลือด
ให้ยาฉีดบางชนิดเข้าทางหลอดเลือดดา
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral intravenous infusion)
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้น ๆ ของผิวหนังหรือหลอดเลือดดำ
Heparin lock หรือ Saline lock
เป็นการแทงเข็มให้สารน้าทางหลอดเลือดดาส่วนปลายและคา
เข็มที่หล่อด้วยสารต้านการแข็งตัวของเลือด (Heparin)
Piggy back IV Administration
เป็นการให้สารน้ำขวดที่ 2 ซึ่งมีขนาดบรรจุ 25 – 250 มล.²
ต่อเข้ากับชุดให้สารน้ำขวดแรก
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่ (Central venous therapy)
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central line ทางหลอดเลือดดาใหญ่ๆ
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง (Implanted vascular access device หรือvenous port)
เป็นการฝั่งอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลวทางหลอดเลือดค่าไว้ใต้ผิวหนัง โดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดาใหญ่
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
ประกอบด้วย ตัวถูกละลาย รวมทั้งอิเล็กโตไลท์ หรือ ส่วนประกอบที่ไม่ใช่ไอออน เช่น ยูเรีย กลูโคส
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้านอกเซลล์(Extracellular fluid) ซึ่งมีออสโมลาริตี้ระหว่าง 280-310 m0sm/l
สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 m0sm/l ซึ่งค่าOsmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์ เป็นสารน้ำที่มีโมเลกุลอิสระของน้ามากกว่าในเซลล์
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
เป็นสารน้ำที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า310 m0sm/l ซึ่งมีมากกว่าออสโมลาริตี้ของน้ำนอกเซลล์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป การแขวนขวดสารน้ำให้สูง สารน้ำจะหยดเร็วกว่าการแขวนขวดในระดับต่ำ
ความหนืดของสารน้ำ ถ้าสารน้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ เข็มขนาดใหญ่จะมีทางผ่านกว้าง อัตราการหยดจะเร็วกว่าใช้เข็มขนาดเล็ก
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก จะบังคับการหยดได้ไม่ดีพอ อัตราการหยดจะเร็ว
สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด จะทำให้สารน้ำผ่านไม่สะดวก อัตราการไหลจะช้าลง
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด แน่นหรือตึงเกินไปรวมทั้งการนั่ง หรือนอนทับสายให้สารน้า จะปิดกั้นทางผ่านของสารน้ำ ทาอัตราการหยดช้าลง
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย อาจทำให้เข็มเคลื่อนที่ ปลายตัดของเข็มแนบ หรือแทงทะลุหลอดเลือด สารน้ำไหลไม่สะดวก อัตราการหยดจะช้าลง
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น หรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้าใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/ นาที) = จำนวน Sol.(มล/ชม.) x จำนวนหยดต่อมล.)/เวลา(นาที)
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้/จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดาส่วนปลายของแขนก่อน
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ เพราะจะทำให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย หรือถ้าจำเป็นต้องแทงบริเวณข้อพับให้ใช้ไม้ดามป้องกันการงอพับ
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
อุปกรณ์เครื่องใช้
ขวดสารน้ำ
ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral insertion devices) มีหลายขนาดตั้งแต่เบอร์ 14, 16, 18, 20, 22 และ 24
อุปกรณ์อื่น ๆ
เสาแขวนขวดให้สารน้ำ
ยางรัดแขน (Tourniquet)
แผ่นโปร่งใสปิดตาแหน่งที่แทงเข็ม (Transparent dressing) หรือก๊อซปลอดเชื้อ
ไม้รองแขน ถุงมือสะอาด
พลาสเตอร์ สำลีปลอดเชื้อ 70% Alcohol
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
การบวมเนื่องจากสารน้าซึมออกนอกหลอดเลือดดำ (Infiltration)
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม (Extravasations)
การติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection) บวมแดง ร้อน
หลอดเลือดดำอักเสบ (Phlebitis) ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวม
ระดับการอักเสบของหลอดเลือดดาจากการให้สารน้ำ (Phlebitis Scale)
Grade 0 ไม่มีอาการ
Grade 1 ผิวหนังบริเวณแทงเข็มแดง มีอาการปวดหรือไม่มีก็ได้
Grade 2 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมหรือไม่บวมก็ได้
Grade 3 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดงเป็นทาง คลำได้หลอดเลือดแข็งเป็นลำ
Grade 4 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดงเป็นทาง คลาได้หลอดเลือดแข็งเป็นลำ ความยาวมากกว่า 1 นิ้ว มีหนอง
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ (Allergic reaction) มีผื่นแพ้เกิดขึ้นที่ผิวหนัง
ร่วมกับอาการแพ้ต่าง ๆ
การติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia หรือ Septicemia) มีไข้สูง หนาวสั่น ความดันโลหิตลดลง คลื่นไส้ อาเจียน บางครั้งมีอาการถ่ายเหลว มีการติดเชื้อเฉพาะที่เกิดร่วมด้วย
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด (Air embolism)
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป (Circulatory overload)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
การประเมินด้านจิตใจ
ความพร้อมของการรับบริการให้สารน้าทางหลอดเลือดดำ
ความต้องการรับบริการให้สารน้าทางหลอดเลือดดำ
ความวิตกกังวลและความกลัว
การประเมินแผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา
ตรวจสอบชนิดของสารน้าตามแผนการรักษา ชนิด ปริมาณ อัตรา และเวลา
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
วางแผนให้สารน้าทางหลอดเลือดดำโดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLEของ patient safety goal
วัตถุประสงค์ของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้สารน้ำทดแทนน้ำที่สูญเสียจากร่างกาย
ให้สารน้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกายในรายที่ไม่สามารถรับประทานได้ทางปาก
ให้ยาบางชนิดที่ไม่สามารถดูดซึมทางระบบทางเดินอาหาร หรือยารับประทานที่จะถูกทาลายโดยน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
รักษาสมดุลของกรด-ด่างในร่างกาย ในรายที่มีภาวะเสียสมดุลกรด–ด่าง
ใช้เป็นช่องทางในการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ ติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยให้ปริมาณของยาในกระแสโลหิตอยู่ในระดับสม่ำเสมอกัน
แก้ไขความดันโลหิต โดยการให้สารละลายที่มีความเข้มข้นมากกว่าน้ำในร่างกาย
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เครื่องใช้
intravenous fluid (IV fluid) ตามแผนการรักษา
intravenous catheter (IV cath.) เบอร์ 22/ 24
intravenous set (IV set)
tourniquet
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
extension tube
three ways
IV stand (เสาน้าเกลือ)
พลาสเตอร์ หรือ พลาสเตอร์ใสสำเร็จรูป (transparent)
แผ่นฉลากชื่อ
ถุงมือสะอาด mask
วิธีท้าการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เช็ดจุกยางที่ขวดหรือถุงสารน้าด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ต่อ IV set กับ IV fluid
ต่อ three ways กับ extension tube แล้วมาต่อกับ IV set
ปิด clamp ที่ IV set
ดึงแผ่นโลหะที่ปิดขวดสารน้าหรือฝาครอบที่ปิดถุงน้ำพลาสติกออก
แขวนขวด IV fluid เสาน้าเกลือแขวนให้สูงประมาณ 1 เมตร (3 ฟุต) จากผู้ป่วย
ล้างมือให้สะอาด
บีบ chamber ของ IV set ให้ IV fluid ลงมาในกระเปาะประมาณ ½ ของกระเปาะ
บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้ เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจและลดความวิตกกังวล และผู้ป่วยให้ความร่วมมือ
การเตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
เลือกตำแหน่งที่จะแทง IV cath.
รัด tourniquet เหนือตาแหน่งที่ต้องการแทงเข็ม ประมาณ 2-6 นิ้ว
สวมถุงมือสะอาดและ mask
ทำความสะอาดผิวหนังตำแหน่งที่จะแทงเข็มด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์70% เช็ดจากบนลงล่าง
ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ของมือซ้ายตรึงผิวหนังตำแหน่งที่จะแทง IV cath.
เตรียม IV cath. ประกอบด้วย ท่อพลาสติก (catheter) และเข็มเหล็ก(stylet) เพื่อใช้เป็นตัวนำในการแทงผิวหนัง แทงเข็มทามุมประมาณ 10-30 องศา
การติดพลาสเตอร์ ให้ปฏิบัติ ดังนี้
วางก๊อชปลอดเชื้อปิดที่เข็มแทงแล้วปิดด้วยพลาสเตอร์หรือ transparent
ติดพลาสเตอร์ยึดสายให้สารน้าป้องกันการดึงรั้ง และเขียนระบุ วัน เวลาที่เริ่มให้ IV fluidไว้ที่แผ่นของกระดาษของtransparent
ปรับอัตราหยดตามที่คำนวณไว้ตามแผนการรักษา ดังตัวอย่าง
IV fluid 1,000 ml in 6 hr. = 160 ml/hr. = 40 drop/min.
IV fluid 1,000 ml in 8 hr. = 125 ml/hr. = 30 drop/min.
IV fluid 1,000 ml in 10 hr. = 100 ml/hr. = 25 drop/min.
IV fluid 1,000 ml in 12 hr. = 80 ml/hr. = 20 drop/min.
IV fluid 1,000 ml in 24 hr. = 40 ml/hr. = 10 drop/min.
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบรายชื่อนามสกุล เตียงผู้ป่วยให้ตรงกับป้ายข้อมือผู้ป่วย
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา และเขียนชื่อนามสกุลของผู้ป่วย ชนิดของสารน้า วัน เวลาที่เริ่มให้อัตราการหยดของสารน้ำ
เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
2.การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนามาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนามาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การหยุดให้สารน้าทางหลอดเลือดด้า
เมื่อให้สารน้าครบตามจานวนที่ต้องการหรือต้องการหยุดให้
สารน้ำ
อุปกรณ์เครื่องใช้
สำลีปลอดเชื้อ หรือก๊อซปลอดเชื้อ
พลาสเตอร์
ถุงมือชนิดใช้แล้วทิ้ง
วิธีปฏิบัติ
3) สวมถุงมือเพื่อไม่ให้เลือดสัมผัสกับมือพยาบาล
4) ดึงเข็มที่ให้สารน้าออกทางผิวหนังตามแนวที่แทงเข็มด้วยความนุ่มนวล
2) แกะพลาสเตอร์ที่ปิดยึดหัวเข็ม และสายให้สารน้ำออกทีละชิ้น ระวังอย่าให้เข็มถูกดึงรั้งออกทางผิวหนัง
5) ใช้สำลีแห้งหรือก๊อซปลอดเชื้อกดทับที่ตำแหน่งที่ดึงเข็มออกหรือยึดติดด้วย พลาสเตอร์ และปิดไว้นาน 8 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการติดเชื้อจนกว่าเลือดจะหยุด
1) ปิด clamp
6) เก็บชุดให้สารน้ำและเข็มที่แทงให้เรียบร้อย
7) บันทึกในบันทึกทางการพยาบาลวัน เวลาและเหตุผลของการหยุดให้สารน้ำ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
ประวัติการแพ้ยา
ระดับความรู้สึกตัว
พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
การประเมินด้านจิตใจ
ความพร้อมของการรับบริการฉีดยา
ความต้องการรับบริการฉีดยา
ความวิตกกังวลและความกลัว
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย
บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
การบริหารยาที่มีประสิทธิภาพโดยใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของpatient safety goals
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการบริหารยา
วัตถุประสงค์ของการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดด้
ให้ยาออกฤทธิ์เร็ว
ให้ยาที่มีผลระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อ
ให้ยาชนิดที่ไม่สามารถให้ทางอื่นได้ผลต่อการรักษา
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights
ผู้ป่วยปลอดภัยตามหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
วิธีการฉีดยาแบบที่ 1 IV plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 6 three ways กับ syringe IV push
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการบริหารยาฉีด เป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goal
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนามาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้าทางปากไม่ได้ หรือรับประทานได้น้อยไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายให้ได้รับสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการของร่างกาย โดยผ่านทางหลอดเลือดเลือดดำ
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
โรคทางเดินอาหาร เช่น อุจจาระร่วงเรื้อรัง การอักเสบในระบบทางเดินอาหาร ลำไส้
โรคของอวัยวะต่างๆ เช่น ภาวะไตวาย โรคหัวใจแต่กำเนิด
ภาวะทางศัลยกรรม เช่น ถูกน้าร้อนลวก ภายหลังการผ่าตัด
ความผิดปกติของจิตใจ เช่น anorexia nervosa
โรคมะเร็งต่างๆ เช่น มะเร็งกระเพาะอาหาร
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
คาร์โบไฮเดรต นิยมใช้ในรูปของกลูโคส ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ต่อ 1 กรัม
สารละลายไขมัน (fat emulsion) ให้พลังงาน 9 กิโลแคลอรี่ต่อ 1 กรัม
โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ต่อ 1 กรัม ใช้กรดอะมิโนทุกชนิดทั้งที่จำเป็นและไม่จำเป็นในปริมาณและสัดส่วนที่พอเหมาะ
วิตามิน ให้ทั้งชนิดละลายในน้ำและชนิดละลายในไขมันควรเติมวิตามินทุกชนิดในสารละลายตั้งแต่วันแรกที่เริ่มให้สารอาหารทางหลอดเลือดดาแก่ผู้ป่วย
เกลือแร่ ก่อนที่จะเริ่มให้สารอาหารควรมีการคานวณจานวนเกลือแร่ให้เรียบร้อยก่อนสำหรับผู้ป่วยทั่วไปควรนึกถึงเกลือแก่
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition (TPN)
เป็นการให้โภชนบาบัดครบตามความต้องการของผู้ป่วยอทั้งปริมาณพลังงานที่ต้องการ และสารอาหารทุกหมู่
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
เป็นการให้โภชนบาบัดทางหลอดเลือดดำเพียงบางส่วน อาจได้พลังงานไม่ครบตามความต้องการ หรือได้สารอาหารไม่ครบทุกหมู่
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein)
ข้อดีของการให้วิธีนี้คือไม่ยุ่งยาก
ข้อจำกัดคือ ไม่สามารถให้น้ำตาลกลูโคสมากกว่าร้อยละ 10 ของสารละลาย
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ (central vein)
สามารถเพิ่มความเข้มข้นของน้ำตาลกลูโคสได้ถึงร้อยละ 20-25 เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่จาเป็นต้องได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดาเป็นเวลานาน
อุปกรณ์ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
สายให้อาหารทางหลอดเลือดดำ ปัจจุบันสายให้อาหารทางหลอดเลือดดำมีรูปแบบต่างๆขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของผู้ป่วยแต่ละราย
ชุดให้สารอาหาร
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือ TPN ที่สะอาดปราศจากเชื้อ และเตรียมชุดให้สารอาหารให้พร้อม
4.ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร ปิดผ้าก๊อซปราศจากเชื้อบริเวณรอยต่อโดยใช้เทคนิคปราศจากเชื้อ
ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้ง สวมmask
ตรวจสอบ PPN หรือ TPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ เนื่องจากผู้ป่วยเมื่อทราบว่าจะต้องให้สารอาหารมักมีความวิตกกังวลหวาดกลัว และจะถูกจากัดการทากิจกรรมต่างๆ
6.มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิดและปริมาณของสารอาหารอัตราหยดต่อนาที วันและเวลาที่เริ่มให้ วันและเวลาที่สารอาหารหมด ชื่อผู้เตรียมสารอาหาร
นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วยโดยเช็ดบริเวณรอยต่อด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ ปิดด้วยผ้าก๊อซปราศจากเชื้อ
ให้สารอาหารปรับจานวนหยดตามแผนการรักษา
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง (Local infiltration)
เกิดขึ้นเมื่อเข็มเคลื่อนออกจากหลอดเลือด พบได้บ่อยในหลอดเลือดที่เล็ก บาง หรือผู้ป่วยที่มีกิจกรรมมากๆ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด (Embolism)
ที่พบบ่อยจะเป็นก้อนเลือด(thromboembolism) และอากาศ (air embolism)
สาเหตุของการเกิดก้อนเลือดมักมาจากผนังด้านในของหลอดเลือดดำไม่เรียบ และมีเข็มแทงผ่าน เป็นผลให้เลือดไหลผ่านบริเวณนั้นช้าลง และเกิดการสะสมของเลือด
การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload)
พบได้ง่ายในผู้ป่วยเด็ก ผู้ที่มีปัญหาของระบบไหลเวียนเลือด และไต อาจเนื่องจากให้สารอาหารที่เร็วเกินไป
ไข้ (pyrogenic reactions)
เกิดจากมีสารแปลกปลอมซึ่งเป็นส่วนประกอบของโปรตีนเข้าสู่
กระแสเลือด
สาเหตุเนื่องจากอาจมีการปนเปื้อนในการเตรียมสารอาหาร หรือการฉีดยาทางสายยางให้อาหารสารอาหารเสื่อมอายุ หมดอายุ
การหยุดให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ความเข้มข้นของกลูโคสในสารละลายลดลงเหลือร้อยละ 5 ก็อาจจะยกเลิกการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดาในวันรุ่งขึ้น ทั้งนี้อาจจะใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 5-7 วัน
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
เลือด (whole blood)
ประกอบด้วย 3 ส่วน
เซลล์เม็ดเลือดขาว (white blood cell หรือ leukocyte)
เกร็ดเลือด(platelet) และน้ำเลือด (plasma)
เซลล์เม็ดเลือดแดง (red blood cell หรือ erythrocyte)
หมายถึง การให้เลือด หรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือเฉพาะน้ำเลือดแก่ผู้ป่วยโดยผ่านเข้าทางหลอดเลือดดำการให้เลือดแม้จะช่วยชีวิตผู้ป่วยได้ แต่ก็ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้เช่นกัน
ในระบบ ABO จาแนกหมู่เลือดออกเป็น 4 หมู่ คือ หมู่เลือด A, B, AB และ O
ปกติบนผิวเม็ดเลือดแดงจะมีแอนติเจน ซึ่งเมื่อเข้าไปอยู่ในร่างกายผู้อื่นจะกระตุ้นให้ร่างกายของผู้นั้นสร้างแอนติบอดีขึ้นมาทาให้
เกิดปฏิกิริยาต่อแอนติเจนสารแอนติเจนของหมู่เลือดเป็นโปรตีน
ในประเทศไทยมีปัญหาการไม่เข้ากันของหมู่เลือด Rh มีน้อย ทั้งนี้เพราะคนไทยมีเลือด Rh ลบ เพียง 0.1-0.3% เท่านั้น
สำหรับหมู่เลือดระบบ Rh นี้เป็นหมู่เลือดที่มีความสำคัญทางคลินิกรองจากระบบเลือด ABO เป็นหมู่เลือดที่สามารถถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ได้
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น แต่ต้องดูกรุ๊ปเลือดตามระบบ ABO ด้วย
คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O เท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป AB รับได้จากทุกกรุ๊ป แต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB
คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A และ O ให้ได้กับ A และ AB
คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B และ O ให้ได้กับ B และ AB
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
เกิดจากการให้เลือดผิดหมู่ เม็ดเลือดแดงจะแตกและบางส่วนไปอุดตันหลอดเลือดฝอยของท่อไตทำให้ไตวาย
พบว่าผู้ป่วยมีอาการ
ปวดหลังบริเวณเอว
กระสับกระส่าย
มีไข้ปวดศีรษะ
ปัสสาวะเป็นเลือด และปัสสาวะไม่ออกในภายหลัง
หนาวสั่น
ตัวและตาเหลือง
หายใจลำบาก เจ็บแน่นหน้าอก
หลอดเลือดแฟบ ความดันโลหิตต่ำ
อาจเสียชีวิจจากยูเรียเมีย
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป (Volume overload)
เกิดจากการให้เลือดในอัตราเร็วเกินไป จึงเพิ่มปริมาตรการไหลเวียนในกระแสเลือด
ผู้ป่วยจะหายใจลาบาก ไอ เหนื่อยหอบ หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง แรงดันในหลอดเลือดดำสูงกว่าปกติ
ไข้ (Febrile transfusion reaction)
เกิดจากการได้รับสารที่ทำให้เกิดไข้ เชื้อแบคทีเรียจาก
เครื่องใช้หรือเทคนิคการให้เลือดที่ไม่สะอาด
มีอันตรายถึงชีวิตได้ในเวลาอันรวดเร็ว มักเกิดขึ้นทันทีหลังได้รับเลือด 2-3 นาที หรือภายใน 6 ชั่วโมง
อาการมีไข้หนาวสั่นที่เกิดจากเชื้อบักเตรีไข้จะสูง 38.4 ° C ขึ้นไป
ผิวหนังอุ่น แดงขึ้น ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียนเป็นเลือด ท้องเดิน
ปวดท้อง รู้สึกสับสน ความดันเลือดำ เจ็บหน้าอก หายใจลาบาก อาการทรุดลงอย่างรวดเร็ว
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)
เกิดจากผู้รับแพ้สารอย่างใดอย่างหนึ่งในเลือดที่ได้รับ
อาการที่พบ
หลอดลมบีบเกร็ง
หายใจลำบาก
อาการคั่งในจมูก
ฟังได้เสียงวี๊ซ (wheeze) ในปอด
มีผื่นคัน หรือลมพิษ
การถ่ายทอดโรค (Transfusion-associated graft versus host disease)
มักเกิดจากการขาดการตรวจสอบเลือดของผู้ให้ ซึ่งมีการติดเชื้อต่าง ๆ
การอุดตันจากฟองอากาศ (Air embolism)
เกิดจากการไล่ฟองอากาศไม่หมดไปจากสายให้เลือดอากาศจะลอยไปตามกระแสเลือด และอาจไปอุดตันหลอดเลือดดาให้ขัดขวางการนำออกซิเจนไปเลี้ยงอวัยวะ
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
เกิดจากการให้เลือดติดต่อกันเป็นจานวนมากจึงมีการสะสมของสารกันการแข็งตัวของเลือด (Acid – citrate dextrose) เพิ่มขึ้นและไปจับตัวกับแคลเซี่ยมในเลือดระดับแคลเซี่ยมจึงลดลง
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ (Hyperkalemia)
เกิดจากการให้เลือดที่เก็บไว้ในธนาคารเลือดนานเกินไป
หลังจากที่ผู้ป่วยได้เลือด
อาการที่พบในผู้ป่วย
คลื่นไส้อาเจียน ท้องเดิน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง อาการคล้ายอัมพาตบริเวณใบหน้ามือและขา
ชีพจรเบา ช้า ถ้าระดับโปตัสเซียมสูงมากหัวใจจะหยุดเต้น
การบันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออกจากร่างกาย (Record Intake-Output)
จำนวนน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
จำนวนน้ำหรือของเหลวทุกชนิดที่ร่างกายได้รับ ซึ่งจะได้รับด้วยวิธีใดก็ตาม
จำนวนน้ำที่ร่างกายขับออก (Fluid output)
จำนวนน้ำที่ร่างกายสูญเสียออกนอกร่างกายด้วยวิธีการต่างๆ
หลักการบันทึกจำนวนสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย
1) แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย เพื่อสะดวกในการจดบันทึกและเมื่อครบ 24ชั่วโมง ต้องสรุปลงในแผ่นรายงานประจาตัวของผู้ป่วยหรือฟอร์มปรอท
2) อธิบายเหตุผลและความสาคัญของการวัดและการบันทึกจานวนน้าที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
3) ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกาหนดจานวนน้าที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
4) จดบันทึกจานวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร พร้อมทั้งอธิบายให้ผู้ป่วยดื่มน้าในขวดที่เตรียมไว้ให้ ไม่นำน้ำที่เตรียมไว้ไปบ้วนปากหรือเททิ้ง
5) การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
6) บันทึกจานวนสารน้าที่สูญเสียทางอื่น ๆ
อาเจียน ท้องเดิน ของเหลวที่ระบายออกจากการใช้เครื่องดูดกับสายยางจากกระเพาะ