Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลลอดเลือดดำ - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลลอดเลือดดำ
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง
เกิดขึ้นเมื่อเข็มเคลื่อนออกจากหลอดเลือด พบได้บ่อยในหลอดเลือดที่เล็ก บาง หรือผู้ป่วยที่มีกิจกรรมมากๆ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
จะเป็นก้อนเลือด และอากาศ สาเหตุของการเกิดก้อนเลือดมักมาจากผนังด้านในของหลอดเลือดดำไม่เรียบ และมีเข็มแทงผ่าน เป็นผลให้เลือดไหลผ่านบริเวณนั้นช้าลง
การให้สารอาหารมากเกินไป
พบได้ง่ายในผู้ป่วยเด็กผู้ที่มีปัญหาของระบบไหลเวียนเลือดและไต อาจเนื่องจากให้สารอาหารที่เร็วเกินไป
ไข้
เกิดจากมีสารแปลกปลอมซึ่งเป็นส่วนประกอบของโปรตีนเข้าสู่กระแสเลือด สาเหตุเนื่องจากอาจมีการปนเปื้อนในการเตรียมสารอาหาร หรือการฉีดยาทางสายยางให้อาหาร สารอาหารเสื่อมอายุ หมดอายุ
การหยุดให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ให้งดสารละลายไขมันได้ทันที และลดความเข้มข้นของน้ำตาลกลูโคส และกรดอะมิโนลง รวมทั้งเกลือแร่ต่างๆ ด้วย ในขณะเดียวกันก็เพิ่มอาหารที่ให้ทางปาก
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้เลือด
หมายถึง การให้เลือดหรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือเฉพาะน้ำเลือด แก่ผู้ป่วยโดยผ่านเข้าทางหลอดเลือดดำการให้เลือดแม้จะช่วยชีวิตผู้ป่วยได้
ส่วนประกอบของเลือด
เกร็ดเลือด
น้ำลือด
เซลล์เม็ดเลือด
เซลล์เม็ดเลือดแดง
เซลล์เม็ดเลือดขาว
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำ
สูตรการคำานวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/นาที) = จำนวนSol.(มล/ชม.) x จำนวนหยดต่อมล.)/เวลา(นาที)
สูตรการค้านวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้/จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้ หรือรับประทานได้น้อยไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
เพื่อทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ภาวะทางศัลยกรรม
ความผิดปกติของจิตใจ
โรคของอวัยวะต่างๆ
โรคมะเร็งต่างๆ
โรคทางเดินอาหาร
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ต่อ 1กรัม
วิตามิน ให้ทั้งชนิดละลายในน้ำ
สารละลายไขมัน ให้พลังงาน 9 กิโลแคลอรี่ต่อ 1กรัม
เกลือแร่ก่อนที่จะเริ่มให้สารอาหารควรมีการคำนวณจำนวนเกลือแร่ให้เรียบร้อยก่อน
คาร์โบไฮเดรตนิยมใช้ในรูปของกลูโคส ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ต่อ 1 กรัม
น้ำให้คำนวณจำนวนน้ำที่จะให้แก่ผู้ป่วยตามน้ำหนักตัว
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition (TPN)
เป็นการให้โภชนบำบัดครบตามความต้องการของผู้ป่วยทั้งปริมาณพลังงานที่ต้องการ และสารอาหารทุกหมู่
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
เป็นการให้โภชนบำบัดทางหลอดเลือดดำเพียงบางส่วน อาจได้พลังงานไม่ครบตามความต้องการ หรือได้สารอาหารไม่ครบทุกหมู่
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร ปิดผ้าก๊อซปราศจากเชื้อบริเวณรอยต่อโดยใช้เทคนิคปราศจากเชื้อ
ตรวจสอบ PPN หรือTPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือTPN ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย
ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้งสวมmask
น้ำสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วยโดยเช็ดบริเวณรอยต่อด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ ปิดด้วยผ้าก๊อซปราศจากเชื้อ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบเนื่องจากผู้ป่วยเมื่อทราบว่าจะต้องให้สารอาหารมักมีความวิตกกังวล หวาดกลัว
ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแผนการรักษา
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
Hypotonic solution Osmolarity น้อยกว่า 280 m0sm/l
Osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์
Hypertonic solution เป็นสารน้ำที่มีค่า Osmolarity มากกว่า 310m0sm/l
Isotonic solution จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์ ซึ่งมี Osmolarity ระหว่าง 280-310 m0sm/l
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล
ผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิด และปริมาณของสารอาหารอัตราหยด
ประเมินสัญญาณชีพก่อนและขณะให้สารอาหารและติดตามทุก 2-4ชั่วโมง
สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับผู้ป่วย
ก่อนและขณะให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ควรมีการประเมินสภาพร่างกาย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงานเพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วัตถุประสงค์เพื่อ
ไม่เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ
ไม่เกิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
เกณฑ์การประเมินผล
บริเวณที่ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำไม่มีบวมแดง
สัญญาณชีพปกติ
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป การแขวนขวดสารน้ำให้สูงสารน้ำจะหยดเร็วกว่าการแขวนขวดในระดับต่ำ
ความหนืดของสารน้ำ ถ้าสารน้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก จะบังคับการหยดได้ไม่ดี
สายให้สารน้ำ มีความยาวมากมีการหักพับงอหรือถูกกดจะทำให้สารน้ำผ่านไม่สะดวก
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด แน่นหรือตึงเกินไปรวมทั้งการนั่ง หรือนอนทับสายให้สารน้ำจะปิดกั้นทางผ่านของสารน้ำทำให้อัตราการหยดช้าลง
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย อาจทำให้เข็มเคลื่อนที่
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น
อาการแทรกซ้อนจากการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป เกิดจากการให้เลือดในอัตราเร็วเกินไป จึงเพิ่มปริมาตรการไหลเวียนในกระแสเลือด ส่งผลให้หัวใจท างานหนักขึ้น เกิดภาวะหัวใจวาย และมีอาการน้ าท่วมปอด จะพบว่าผู้ป่วยจะหายใจล าบาก ไอ เหนื่อยหอบ หลอดเลือดำที่คอโป่งพอง แรงดัน
ไข้ มักเกิดจากการขาดการตรวจสอบเลือดของผู้ให้ ซึ่งมีการติดเชื้อต่าง ๆ
เม็ดเลือดแดงสลายตัว เกิดจากการได้รับสารที่ทำให้เกิดไข้เชื้อแบคทีเรียจากเครื่องใช้หรือเทคนิคการให้เลือดที่ไม่สะอาด
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ เกิดจากผู้รับแพ้สารอย่างใดอย่างหนึ่งในเลือดที่ได้รับ ผู้ป่วยจะมีอาการมีผื่นคัน หรือลมพิษ
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ เกิดจากการให้เลือดติดต่อกันเป็นจำนวนมากจึงมีการสะสมของสารกันการแข็งตัวของเลือดเพิ่มขึ้น
การถ่ายทอดโรค มักเกิดจากการขาดการตรวจสอบเลือดของผู้ให้ ซึ่งมีการติดเชื้อต่าง ๆ
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ เกิดจากการให้เลือดที่เก็บไว้ในธนาคารเลือดนานเกินไป หลังจากที่ผู้ป่วยได้เลือดจะพบอาการคลื่นไส้อาเจียน ท้องเดิน กล้ามเนื้ออ่อนแรง
การอุดตันจากฟองอากาศ เกิดจากการไล่ฟองอากาศไม่หมดไปจากสายให้เลือดอากาศจะลอยไปตามกระแสเลือด
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำาแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
เลือกหลอดเลือดดของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อนให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อนเพื่อให้หลอดเลือดดำส่วนที่ถัดเข้ามาสามารถใช้งานได้ ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขาให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่างๆ ค านึงถึงชนิดของสารน้ าที่ให้ หากเป็นสารน้ำชนิด Hypertonic เนื่องจากสารน้ำมีความเข้มข้นของสารละลายสูง และมีความหนืดควรเลือกหลอดเลือดเส้นใหญ่ในการให้สารน้ำ
อุปกรณ์เครื่องใช้
ขวดสารน้ำ/ยา ต้องเตรียมให้ตรงกับใบสั่งการรักษาและตรวจสอบดูว่าสภาพขวดสารน้ำ/ยาไม่มีรอยแตกร้าวหรือรูรั่วสารน้ำไม่หมดอายุ ไม่มีลักษณะขุ่นส่วนบนเป็นแท่งพลาสติกแข็งปลายแหลมใช้แทงผ่านจุกขวด ต่อจากโคนเข็มมีกระเปาะพักน้ำ ปรับอัตราการหยดตามการหมุนเกลียวหรือใช้แผ่นปรับบังคับการหยดของสารน้ำ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของน้ำในร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
ประเมินอาการบวมที่หลังมือซ้ายทุกเวร หากบวมมากขึ้น ผู้ป่วยมีไข้
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4ชั่วโมง
หยุดให้สารน้ำทันที
เปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
ประเมินการขาดสารน้ำและอิเล็คโตรไลท์
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
ประเมินอาการหลอดเลือดดำอักเสบบริเวณหลังมือ (อาการบวมลดลง)
ปริมาณสารน้ำเข้าและออกมีความสมดุล
ประเมินอาการปวดของผู้ป่วย
การประเมินภาวะสุขภาพ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการบริหารยา
วัตถุประสงค์ของการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาชนิดที่ไม่สามารถให้ทางอื่นได้ผลต่อการรักษา
ให้ยาที่มีผลระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อ
ให้ยาออกฤทธิ์เร็ว
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ปัจจุบันมีวัสดุทางการแพทย์ที่ช่วยให้การฉีดยาให้มีความสะดวก ง่าย และไม่ยุ่งยาก ทำให้ผู้ป่วยมีความสุขสบายเพิ่มขึ้นด้วย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลการบริหารยาฉีดเป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือดเครื่องใช้
นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้เลือดและสารประกอบของเลือดตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
วางแผนให้ผู้ป่วยได้รับเลือดและสารประกอบของเลือดโดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินแผนการรักษา
การดูแลผู้ป่วยภายหลังได้รับเลือด
สังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดอย่างต่อเนื่อง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายตลอดระยะเวลาที่ให้เลือด
ตรวจสอบสัญญาณชีพหลังการให้เลือด 15นาที และต่อไปทุก4ชั่วโมง
บันทึกหมู่เลือด ชนิดของเลือด หมายเลขเลือด ปริมาณเลือด วันเวลาชื่อผู้ให้เลือด
การปฏิบัติเมื่อพบอาการแทรกซ้อนในผู้ป่วยที่ได้รับเลือด
รายงานแพทย์
ตรวจสอบสัญญาณชีพ และสังเกตสังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดอย่างใกล้ชิด
หยุดให้เลือดทันทีแล้วเปิดทางหลอดเลือดดำ (KVO) ด้วย NSS
เตรียมสารน้ำและยา
บันทึกจำนวนสารน้ำที่น้ำเข้า–ออกจากร่างกาย เพื่อดูการทำงานของไต
ส่งขวดเลือดและเจาะเลือดของผู้ป่วยจากแขนที่ไม่ได้ให้เลือดไปยังห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจสอบ
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่
การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอกหลอดเลือดดำ
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
การติดเชื้อเฉพาะที่
หลอดเลือดดำอักเสบ
การพยาบาล
เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
ประคบด้วยความร้อนเปียก
จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย เพื่อลดอาการบวม
หยุดให้สารน้ำ จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป
การติดเชื้อในกระแสเลือด
การพยาบาล
เปลี่ยนขวดให้สารน้ำกรณีผู้ป่วยมีการแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ หรือมีการติดเชื้อ
ให้การช่วยเหลือตามอาการ
หยุดให้สารน้ำ
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
ส่งเลือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
ดูแลให้ออกซิเจน
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ
การบันทึกสารน้ำเข้าออกร่างกาย
หลักการบันทึกจ้านวนสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
ดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร
อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจำนวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมงและทุกวัน
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วยเพื่อสะดวกในการจดบันทึก
บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่นๆ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
ความพร้อมของการรับบริการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ความต้องการรับบริการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย
การประเมินแผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา
ตรวจสอบชนิดของสารน้ำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์ของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้สารน้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกายในรายที่ไม่สามารถรับประทานได้ทางปาก
ให้ยาบางชนิดที่ไม่สามารถดูดซึมทางระบบทางเดินอาหาร
ให้สารน้ำทดแทนน้ำที่สูญเสียจากร่างกาย
รักษาสมดุลของกรด-ด่างในร่างกาย
แก้ไขความดันโลหิตโดยการให้สารละลายที่มีความเข้มข้นมากกว่าน้ำในร่างกาย
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำไม่พบอาการแทรกซ้อนและปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
วิธีทำาการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจและลดความวิตกกังวล
ล้างมือให้สะอาด ดึงแผ่นโลหะที่ปิดขวดสารน้ำหรือฝาครอบที่ปิดถุงน้ำพลาสติกออก
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบรายชื่อนามสกุล เตียงผู้ป่วยให้ตรงกับป้ายข้อมือผู้ป่วย
เช็ดจุกยางที่ขวดหรือถุงสารน้ำด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% ต่อIV setกับ IV fluid
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา และเขียนชื่อนามสกุลของผู้ป่วย ชนิดของสารน้ำวันเวลาที่เริ่มให้อัตราการหยดของสารน้ำ
ต่อ three ways กับ extension tube แล้วมาต่อกับ IV set และ ปิด clamp ที่ IV set
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน
ประเมินคุณภาพของการให้บริการข้อ 3 อยู่ในคุณภาพระดับใด
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ 2 อยู่ในคุณภาพระดับใด
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วย
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central line ทางหลอดเลือดดำใหญ่ จะให้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปาก
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลวทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนังผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้สารละลายทางหลอดเลือดดำเป็นระยะๆและไม่สามารถให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำส่วนปลายได้
ในผู้ป่วยโรคเลือดเรื้อรัง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำ โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ต้องงดอาหารและน้ำดื่มเพื่อเตรียมผ่าตัด
Heparin lock เป็นการแทงเข็มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลายและคาเข็มที่หล่อด้วยสารต้านการแข็งตัวของเลือด
Piggyback IV Administration เป็นการให้สารน้ำขวดที่ 2 ต่อเข้ากับชุดให้สารน้ำขวดแรก