Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พรบ.เครื่องสำอาง พ.ศ. 2558 - Coggle Diagram
พรบ.เครื่องสำอาง พ.ศ. 2558
หมวด 2 การจดแจ้งและการรับจดแจ้งเครื่องสำอาง
มาตรา 16
กรณียกเว้นที่ไม่ต้องขอใบจดแจ้ง
มาตรา 17
กรณีที่ไม่สามารถขอรับใบจดแจ้งได้
มาตรา 15
อายุของใบรับจดแจ้ง
มาตรา 18
กรณีที่ใบรับจดแจ้งชำรุด สูญหาย หรือถูกทำลายในสาระสำคัญ
มาตรา 14
สิ่งที่ผู้ประสงค์จะผลิตเพื่อขาย นำเข้าเพื่อขาย หรือรับจ้างผลิตเครื่องสำอางต้องทำ
มาตรา 19
กรณีที่ผู้จดแจ้งประสงค์จะขอแก้ไขรายการในใบรับจดแจ้ง
มาตรา 20
กรณีที่ผู้จดแจ้งประสงค์จะขอออกหนังสือรับรองเกี่ยวกับเครื่องสำอาง
หมวด 4 การควบคุมเครื่องสำอาง
มาตรา 27
เครื่องสำอางที่ผลิตเพื่อขาย นำเข้าเพื่อขาย รับจ้างผลิตหรือขาย
มาตรา 28
ลักษณะของเครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัยในการใช้
มาตรา 26
ผู้จดแจ้งต้องผลิตหรือนำเข้าเครื่องสำอางให้ตรงตามที่ได้จดแจ้งไว้
มาตรา 29
ลักษณะของเครื่องสำอางปลอม
มาตรา 25
การนำเข้าเพื่อขายเครื่องสำอาง ต้องผ่านการตรวจสอบของพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ด่านตรวจสอบเครื่องสำอาง
มาตรา 30
กรณีที่เครื่องสำอางซึ่งมีสารสำคัญขาดหรือเกินกว่าที่ได้จดแจ้งไว้
มาตรา 31
กรณีที่ปรากฏว่าผู้จดแจ้งฝ่าฝืนมาตรา 26 หรือไม่ปฏิบัติตามประกาศของรัฐมนตรีตามมาตรา 6
มาตรา 32
เครื่องสำอางที่ห้ามขาย
มาตรา 33
กรณีที่มีความจำเป็นเพื่อคุ้มครองความปลอดภัยและอนามัยของบุคคล
มาตรา 34
กรณีที่มีประกาศกำหนดให้วัตถุใดอาจใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเครื่องสำอางตามมาตรา 6
มาตรา 35
ต้องจดแจ้งรายละเอียดของเครื่องสำอางต่อผู้รับจดแจ้ง
หมวด 3 ฉลากเครื่องสำอาง
มาตรา 23
กรณีที่ฉลากใดไม่เป็นไปตามมาตรา 22
มาตรา 24
กรณีที่ผู้จดแจ้งสงสัยว่าฉลากของตนจะเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่เป็นไปตามมาตรา 22
มาตรา 22
ผู้ผลิตเพื่อขาย ผู้นำเข้าเพื่อขาย และผู้รับจ้างผลิตเครื่องสำอางต้องจัดให้มีฉลาก
ลักษณะของฉลาก
หมวด 9 บทกำหนดโทษ
มาตรา 74
โทษของผู้ที่ฝ่าฝืนมาตรา 27ผลิตเพื่อขาย นําเข้าเพื่อขาย หรือรับจ้างผลิตเครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัยในการใช้ตามมาตรา 28 (4)
มาตรา 75
โทษของผู้ที่ฝ่าฝืนมาตรา 27 (2) ผลิตเพื่อขาย นําเข้าเพื่อขาย หรือรับจ้างผลิตเครื่องสําอางปลอมตามมาตรา 29 (1) หรือ (2)
มาตรา 73
โทษของผู้ที่ฝ่าฝืนมาตรา 27ผลิตเพื่อขาย นําเข้าเพื่อขาย หรือรับจ้างผลิตเครื่องสําอางที่ไม่ปลอดภัยในการใช้ตามมาตรา 28 (3)
มาตรา 76
โทษของผู้ที่ฝ่าฝืนมาตรา 27 (2) ผลิตเพื่อขาย นําเข้าเพื่อขาย หรือรับจ้างผลิตเครื่องสําอางปลอมตามมาตรา 29 (3) หรือ (4)
มาตรา 72
โทษของผู้ที่ฝ่าฝืนมาตรา 27ผลิตเพื่อขาย นําเข้าเพื่อขาย หรือรับจ้างผลิตเครื่องสําอางที่ไม่ปลอดภัยในการใช้ตามมาตรา 28 (1) หรือ (2)
มาตรา 77
โทษของผู้ที่ฝ่าฝืนมาตรา 27 (3) ผลิตเพื่อขาย นําเข้าเพื่อขาย หรือรับจ้างผลิตเครื่องสําอางผิดมาตรฐาน
มาตรา 71
โทษของผู้จดแจ้งที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 26
มาตรา 78
โทษของผู้ที่ขายเครื่องสําอางที่มิได้จดแจ้ง
มาตรา 70
โทษของผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 25
มาตรา 79
โทษของผู้ที่ขายเครื่องสําอางที่หมดอายุการใช้
มาตรา 69
โทษของผู้จดแจ้งซึ่งใช้ฉลากที่เลขาธิการสั่งเลิกใช้ตามมาตรา 23
มาตรา 80
โทษของผู้จดแจ้งที่ไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของเลขาธิการ
มาตรา 68
โทษของผู้ผลิตเพื่อขาย ผู้นําเข้าเพื่อขาย หรือผู้รับจ้างผลิตเครื่องสําอางซึ่งใช้ฉลากที่ไม่เป็นไปตามมาตรา 22
มาตรา 81
โทษของผู้ผลิตหรือผู้นําเข้าเพื่อการส่งออกซึ่งไม่ปฏิบัติตามมาตรา 35 วรรคหนึ่ง
มาตรา 67
โทษของผู้ผลิตเพื่อขาย ผู้นําเข้าเพื่อขาย หรือผู้รับจ้างผลิตเครื่องสําอางซึ่งไม่ปฏิบัติตามมาตรา 22
มาตรา 82
โทษของผู้ที่ผลิตเพื่อขาย นําเข้าเพื่อขาย หรือรับจ้างผลิตเครื่องสําอางที่ถูกเพิกถอนการจดแจ้งตามมาตรา 36 (1) หรือมาตรา 37 (2) หรือ (3)
มาตรา 66
โทษของผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 18 วรรคหนึ่ง
มาตรา 83
โทษของผู้ที่ผลิตเพื่อขาย นําเข้าเพื่อขาย หรือรับจ้างผลิตเครื่องสําอางที่ถูกเพิกถอนการจดแจ้งตามมาตรา 36 (2) หรือมาตรา 37 (1)
มาตรา 65
โทษของผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 16 วรรคสอง
มาตรา 84
โทษของผู้ที่โฆษณาโดยไม่เป็นไปตามมาตรา 41 หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 42
มาตรา 64
โทษของผู้จดแจ้งที่ยื่นคําขอต่ออายุใบรับจดแจ้งภายหลังที่ใบรับจดแจ้งสิ้นอายุ
มาตรา 85
โทษของผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของเลขาธิการตามมาตรา 43 หรือมาตรา 44
มาตรา 63
โทษของผู้จดแจ้งที่ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามมาตรา 14 วรรคสาม
มาตรา 86
โทษของผู้ที่ไม่อํานวยความสะดวกตามสมควรแก่พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 62
โทษของผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 14 วรรคหนึ่ง
มาตรา 87
โทษของผู้ที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 61
โทษของผู้ที่ไม่มาให้ถ้อยคํา หรือไม่ส่งเอกสารตามที่พนักงานเจ้าหน้าที่มีคําสั่ง
มาตรา 88
กรณีทําความผิดตามมาตรา 84 หรือมาตรา 85 เป็นความผิดต่อเนื่อง
มาตรา 60
โทษของผู้ที่ผลิตเพื่อขาย นําเข้าเพื่อขาย หรือรับจ้างผลิตเครื่องสําอางอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 6
มาตรา 89
เมื่อศาลพิพากษาลงโทษผู้ใดเนื่องจากได้กระทําความผิดตามมาตรา 14 วรรคหนึ่ง หรือมาตรา 27
มาตรา 90
บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษปรับสถานเดียวหรือเป็นความผิดที่มีโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี
หมวด 1 คณะกรรมการเครื่องสำอาง
มาตรา 7
องค์ประกอบของคณะกรรมการเครื่องสำอาง
มาตรา 8
วาระการดำรงตำแหน่งของผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรา 9
การพ้นจากตำแหน่งตามวาระของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรา 10
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
มาตรา 11
การประชุมของคณะกรรมการ
มาตรา 12
คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
หมวด 5 การเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสำอาง
มาตรา 36
กรณีที่ผู้รับจดแจ้งมีอำนาจสั่งเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสำอาง
มาตรา 38
การแจ้งคำสั่งเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสำอาง
มาตรา 39
การแจ้งคำสั่งเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสำอางโดยวิธีให้บุคคลนำไปส่ง
มาตรา 40
การแจ้งคำสั่งเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสำอางโดยวิธีส่งทางไปรษณีย์
หมวด 7 พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 47
อำนาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 48
กรณีที่ปรากฏต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ว่ามีการกระทำความผิดตามมาตรา 14 วรรคหนึ่ง มาตรา 26 มาตรา 27 หรือมาตรา 32
มาตรา 49
พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ค้น บันทึกรายละเอียดแห่งการค้นและบัญชีรายละเอียดสิ่งของที่ค้น ยึด หรืออายัด
มาตรา 50
กรณีที่สิ่งของที่ยึดหรืออายัดไว้จะตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข
มาตรา 51
กรณีที่สิ่งของที่ยึดหรืออายัดไว้เป็นของเสียง่าย หรือเป็นของที่ใกล้จะหมดอายุการใช้งาน หรือเก็บไว้จะเป็นการเสี่ยงต่อความเสียหาย หรือจะเสียค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาเกินค่าของสิ่งนั้น
มาตรา 52
การปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา 47
มาตรา 53
พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 55
เลขาธิการมีอํานาจประกาศผลการตรวจสอบหรือวิเคราะห์เครื่องสําอาง หรือวัตถุที่สงสัยว่าเป็นเครื่องสําอางซึ่งไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 54
พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจําตัวต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง
หมวด 6 การโฆษณา
มาตรา 41
การโฆษณาเครื่องสำอางต้องไม่ใช้ข้อความที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค
มาตรา 42
การโฆษณาจะต้องไม่กระทำด้วยวิธีการอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกายหรือจิตใจ หรือข้อต่อศีลธรรมอันดีงามของประชาชน หรืออันอาจก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญแก่ผู้บริโภค
มาตรา 43
กรณีที่เลขาธิการเห็นว่าเครื่องสำอางใดอาจเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภค
มาตรา 44
กรณีที่เลขาธิการเห็นว่าการโฆษณาใดฝ่าฝืนมาตรา 41 หรือมาตรา 42
มาตรา 45
กรณีที่เลขาธิการมีเหตุอันควรสงสัยว่า ข้อความใดที่ใช้ในการโฆษณาเป็นเท็จหรือเกินความจริงตามมาตรา 41 วรรคสอง
มาตรา 46
กรณีที่ผู้จดแจ้งหรือผู้ทำการโฆษณาเครื่องสำอางซึ่งสงสัยว่าการโฆษณาของตนจะเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด 8 การอุทธรณ์
มาตรา 57
ผู้จดแจ้งซึ่งถูกเพิกถอนใบรับจดแจ้งมีสิทธิอุทธรณ์
มาตรา 58
กรณีที่ผู้ได้รับคําสั่งของเลขาธิการตามมาตรา 23 มาตรา 33 มาตรา 43 มาตรา 44 หรือมาตรา 45 ไม่พอใจคําสั่งดังกล่าว ให้มีสิทธิอุทธรณ์
มาตรา 56
กรณีผู้รับจดแจ้งไม่ออกใบรับจดแจ้งหรือไม่ต่ออายุใบรับจดแจ้ง