Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ยาปฏิชีวนะกลุ่มต่างๆ ยาต้านมะเร็ง, Spornar100mg1x10caps_w, robaz,…
บทที่ 4 ยาปฏิชีวนะกลุ่มต่างๆ ยาต้านมะเร็ง
ยาปฏิชีวนะ
ยาที่ยับยั้ง ฆ่า หรือ ต้าน จุลชีพซึ่งโดยทั่วไปมักเป็นเชื้อ
แบคทีเรีย
กลไกการออกฤทธิ์
ยาที่ยับยั้งหรือขัดขวางการสังเคราะห์ผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
กลุ่ม Beta –lactams
Glycopeptide
Fosfomycin
ยาที่ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีน
Aminoglycoside
Macrolides
Tetracycline
Glycylcyclines
ยาที่ยับยั้งการสังเคราะห์สารตั้งต้นในกระบวนการสังเคราะห์กรดนิวคลิอิก
Trimethoprim
Sulfa
ยาที่ขัดขวางกระบวนการแบ่งตัวและการถอดรหัสพันธุกรรม
Fluoroquinolone
ยาอื่นๆ เช่น Metronidazole
ยาต้านจุลินทรีย์
(antimicrobial)
ยาต้านไวรัส (anti-viral drugs)
ยาต้านเชื้อรา (anti-fungal drugs)
ยาต้านปรสิต (anti-parasitic drugs)
ยาปฏิชีวนะที่สำคัญ
ยาเพนิซิลลิน (Penicillin)
ตัวยาจะยับยั้งการ
เจริญเติบโตของแบคทีเรีย
บำบัดรักษาการติด
เชื้อจากแบคทีเรียกลุ่ม Staphylococci และ Streptococci
ห้ามผู้ที่แพ้ยาในตระกูลเบต้า-แลคแตม
(Beta lactam)
แมคโครไลด์(Macrolide)
มักนำมาใช้ กรณีคนที่แพ้ยากลุ่ม Penicilline
กลุ่มที่เป็นยาปฏิชีวนะและถือเป็นกลุ่มที่มีตัวยามากที่สุด
Azithromycin, Clarithromycin, Erythromycin,
Midecamycin, Roxithromycin
กลุ่มที่ใช้ต้านเชื้อรา
Amphoteracin B, Nystatin
กลุ่มที่ใช้เป็นยากดภูมิคุ้มกันต้านทานโรคของร่างกาย
Cyclosporin
ใช้ยับยั้ง
การติดเชื้อของแบคทีเรียชนิดแกรมบวก
รักษาการอักเสบในอวัยวะสืบพันธุ์
หลีกเลี่ยงการใช้ยานี้กับผู้ป่วยโรคตับ
Aminoglycoside
มีความเป็นพิษต่อไตและหูชั้นใน
( Ototoxicity )
ออกฤทธิ์กับแบคทีเรียกลุ่มแกรมลบ (Gram
negative bacteria)
แบ่งตามชื่อสกุลของแบคทีเรียจ าพวก Streptomyces ซึ่งชื่อของยาในกลุ่มนี้
จะลงท้ายด้วย “mycin”
แบ่งตามชื่อสกุลของแบคทีเรียจ าพวก Micromonospora ชื่อของยาในกลุ่มนี้
จะลงท้ายด้วย “micin”
เป็นอนุพันธุ์ถัดมาจากกลุ่มที่ 1 และ 2 เช่น
Arbekacin, Framycetin, Amikacin
Cephalosporin
ตัวยาจะรบกวน
การสังเคราะห์เปปทิโด ไกลแคน (Peptidoglycan)
ประเภท
เบต้า-แลคแตม (B-Lactam antibiotic)
รุ่นที่ 1 (First generation ): ใช้ได้ผลดีต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก
รุ่นที่ 2 (Second generation): ใช้ได้ผลดีต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ
รุ่นที่ 3 (Third generation ): ใช้ได้ผลดีต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ
รุ่นที่ 4 (Fourth generation): ใช้ได้ดีกับเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก
รุ่นที่ 5 (Fifth generation): ใช้ได้ดีกับเชื้อแบคทีเรียที่มีการดื้อยา
รักษาการติดเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนังและส่วนที่เป็นเนื้อเยื่ออ่อน
ระวังการใช้ยานี้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงที่อยู่ในภาวะให้นมบุตร
Tetracycline
ใช้รักษาการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะและ
การติดเชื้อในลำไส้
ห้ามใช้ยาในเด็กอ่อนและหญิงตั้งครรภ์
ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนและสารตั้งต้นทาง
พันธุกรรมของเชื้อแบคทีเรีย
Quinolone
ใช้รักษาการติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดิน
ปัสสาวะ ทางไต และต่อมลูกหมาก
ข้อควรระวังและห้ามผู้ที่เป็นโรคลมชัก
ยารุ่นที่ 1 สามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ
ยารุ่นที่ 2 ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียแกรมลบได้กว้างขึ้น
ยารุ่นที่ 3 ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียแกรมลบได้กว้าง
ยารุ่นที่ 4 ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบได้วงกว้าง
ระวังการใช้ยานี้กับผู้ที่มีโรคหัวใจ
ยาต้านโรคมาลาเรีย
เชื้อสาเหตุ : Plasmodium
ประเทศไทยค่อนข้างมีปัญหา
Chloroquine
ตัวยาจะถูกดูดซึมเข้าเซลล์เม็ด
เลือดแดง เมื่อเชื้อที่เป็นปรสิต
เชื้อมาลาเรียที่ตอบสนองกับยาคลอโรควินได้ดีคือ ชนิด Plasmodium vivax
P.ovale และ P.malariae
Primaquine
Mefloquine
ผู้ที่ต้อง
เดินทางไปในพื้นที่ที่มีความเสี่ยง
Quinidine sulfate
รักษา
อาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ออกฤทธิ์โดยลดความตรึง
เครียดของกล้ามเนื้อหัวใจ
ออกฤทธิ์โดยลดความตรึง
เครียดของกล้ามเนื้อหัวใจ
เนื่องจาก
เชื้อมักดื้อยา โดยเฉพาะ Choroquine-resistant P. falciparum
อาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
แจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทันที
อาจเกิดระหว่างใช้ยา หากเป็นต่อเนื่อง หรือ
รบกวนชีวิตประจำวัน
ยาต้านเชื้อรา
จำแนกตามโครงสร้างทางเคมี
polyene
imidazole derivatives
fluorinated pyrimidine derivatives
จำแนกตามการใช้ทางคลินิก
systemic fungal infection
amphotericin B จะออกฤทธิ์จับกับ sterol moiety
กลุ่มเอโซล (Azole antifungals) Azole Group
สามารถฆ่าเชื้อราได้
หลายชนิดโดยอาศัยการทำลายที่ผนังของเซลล์ในตัวเชื้อรา
ผลต่อตับ
หัวใจ
เภสัชจลนศาสตร์
การดูดซึมยา (absorption)
Amphotericin B ดูดซึมได้น้อย
Fluconazole ไม่มีผลต่อการดูดซึมยา
Itraconazole
Ketoconazole
ลดการดูดซึมยา
การกระจายยา (distribution)
ยา amphotericin B กระจายไปตามส่วนต่างๆ ได้ เช่น ที่ตา
ยา fluconazoleกระจายตัวไปที่น้ำไขสันหลังได้ด
ยาitraconazole กระจายตัวไปที่เล็บ
Ketoconazole กระจายไป
ตามเนื้อเยื่อได้ด
เมตาบอลิสัมและการขจัดยา
amphotericin B ,fluconazole, Itraconazole, Ketoconazole ขจัดออกด้วยการล้างไตหรือฟอกเลือด
อันตรกิริยาระหว่างยา
Ketoconazole
มีภาวะดีซ่าน เกิดกลุ่มอาการ Stevens-Johnsonsyndrome
ยาถ่ายพยาธิ Antihelminthics
Piperazine
ใช้ถ่ายพยาธิไส้เดือน และพยาธิเส้นด้าย
คนที่เป็นโรคไตวาย โรคตับหรือลมบ้าหมู
Pyrantel pamoate
ใช้ถ่ายพยาธิเส้นด้าย ไส้เดือน และปากขอ
Albendazole
ใช้ถ่ายพยาธิไส้เดือน พยาธิเส้นด้าย พยาธิปากขอ พยาธิแส้ม้า พยาธิตัวตืด
ใช้รักษาพยาธิตัวจี๊ด
ใช้รักษาโรคพยาธิใบไม้ตับ
ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ คนที่เป็นตับอักเสบ
Mebendazole
ใช้ถ่ายพยาธิตัวกลม (เส้นด้าย ไส้เดือน ปากขอ แส้ม้า), พยาธิตัวตืด, ทริคิโนซิส
ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ระยะ 3 เดือนแรก และผู้ป่วยโรคตับ
Niclosamode
ใช้ถ่ายพยาธิตัวตืด
Praziquantel
ใช้รักษาโรคพยาธิใบไม้ในตับ และพยาธิตัวตืด
ที่มีพยาธิตืดหมูในลูกตา (ocular cysticercosis) หญิงที่ให้นมบุตร
ยาต้านไวรัส
ติดเชื้อ Herpes simplex และ Varicella
zoster
รักษาการติดเชื้อ Influenza ไช้หวัดใหญ่ เช่น oseltamivir
รักษาโรคตับอักเสบ (hepatitis)เช่นlamivudine
ยาที่ใช้รักษำโรคติดเชื้อ HIV
(NRTIs)
(PIs)
(NNRTIs)
ยาต้านวัณโรค
First line
• Isoniazid (ไอโซไนอะซิด)
• Rifampicin (ไรแฟมพิซิน)
• Pyrazinamide (ไพราซินาไมด์)
• Ethambutol (อีแทมบูทอล)
• Streptomycin (สเตร็ปโตมัยซิน)
Second line
ยาต้านวัณโรคผลข้างเคียง
Isoniazid (ไอโซไนอะซิด) เกิดภาวะตับอักเสบ อาการชาตาม
ปลายประสาท
Rifampicin (ไรแฟมพิซิน) เกิดภาวะ น้ าตา น้ าลาย เสมหะ
เหงื่อ ปัสสาวะ และอุจจาระเป็นสีส้ม
3.Pyrazinamide (ไพราซินาไมด์) เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน
Ethambutol (อีแทมบูทอล) เกิดอาการประสาทตาอักเสบ
Upper respiratory tract infection
90% เกิดจาก virus
น้ ามูกเขียว
Antibiotic prophylaxis in vaginal delivery of normal term labor
(APL)
ป้องกันการติดเชื้อในหญิงคลอด
Fresh traumatic wound
แผลจากคนหรือสัตว์กัด
-เด็ก : (คำนวณจาก amoxicillin)
-วัยรุ่นและผู้ใหญ่:375 mg tid