Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ยาปฏิชีวนะกลุ่มต่างๆ ยาต้านมะเร็ง - Coggle Diagram
บทที่ 4 ยาปฏิชีวนะกลุ่มต่างๆ ยาต้านมะเร็ง
ยาปฏิชีวนะ
ยาที่ยับยั้ง ฆ่า หรือ ต้าน จุลชีพซึ่งโดยทั่วไปมักเป็นเชื้อ
แบคทีเรีย บางคนจึงเรียกว่า ยาต้านแบคทีเรีย (Antibacterial)
เป็นยาที่ใช้ฆ่าหรือชะลอการ
เจริญเติบโตของแบคทีเรีย ยาปฏิชีวนะเป็นกลุ่มหนึ่งของยาต้านจุลินทรีย์
(antimicrobial) ที่ประกอบด้วย
ยาต้านไวรัส (anti-viral drugs)
• ยาต้านเชื้อรา (anti-fungal drugs)
• ยาต้านปรสิต (anti-parasitic drugs)
ข้อมูลเกี่ยวกับยาปฏิชีวนะ
1.ยาที่ยับยั้งหรือขัดขวางการสังเคราะห์ผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
1.1 กลุ่ม Beta –lactams และยาอื่นที่มีโครงสร้างคล้ายกัน ได้แก่ ยากลุ่ม
Penicilline ทั้งหมด Cephalosporins และ Carbapenam
1.2 Glycopeptide ได้แก่ Vancomycin และ Teicoplanin
1.3 Fosfomycin
ยาที่ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีน
2.4 Glycylcyclines ขณะนี้มีตัวเดียวคือ tigecycline
2.3 Tetracycline เช่น Tetracycline, Minocycline,doxycycline
Clarithromycinและ Lincosamide ( Clindamycin )
2.2 Macrolides ได้แก่ erythromycin, roxithromycin azithromycin,
2.1 Aminoglycoside เช่น Gentamicin , Amikacin
ยาที่ยับยั้งการสังเคราะห์สารตั้งต้นในกระบวนการสังเคราะห์กรดนิวคลิอิก
ได้แก่ Trimethoprim และ Sulfa
4.ยาที่ขัดขวางกระบวนการแบ่งตัวและการถอดรหัสพันธุกรรม คือยากลุ่ม
Fluoroquinolone เช่น Norfloxacin,Ciprofloxacin
ยาอื่นๆ เช่น Metronidazole
ในร่างกายของมนุษย์จะมีระบบภูมิคุ้มกันต้านทานโรค เช่น เม็ดเลือด
ขาวที่ใช้ป้องกันการบุกรุกของเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
รายละเอียดของยาปฏิชีวนะที่ส าคัญ
ยาเพนิซิลลิน (Penicillin)
เพนิซิลลิน เป็นยาใช้รักษาการติดเชื้อแบคทีเรียได้ในหลายเนื้อเยื่อ/
อวัยวะ เช่น คออักเสบเป็นต้น
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเพนิซิลลินคือ ตัวยาจะยับยั้งการ
เจริญเติบโตของแบคทีเรีย โดยจะเข้าไปยับยั้งการสร้าง
สารเปบทิโดกลัยแคน (Peptidoglycan)
มีข้อควรระวังการใช้ยาเพนิซิลลินดังนี้เช่น
ห้ามใช้กับผู้ที่มีประวัติแพ้ยาเพนิซิลลินหรือผู้ที่แพ้ยาในตระกูลเบต้า-แลคแตม
(Beta lactam) เช่น เซฟาโลสปอริน (Cephalosporin)
Macrolide
ัดเป็นยาปฏิชีวนะที่ใช้แพร่หลายอีกกลุ่มหนึ่ง
สามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรียโดยการก่อกวนที่สารพันธุกรรม หรือที่เรียกว่า
อาร์เอนเอ (RNA) ตัว อย่างยากลุ่มแมคโครไลด์เช่น อีรีโทรมัยซิน
(Erythromycin) อะซิโทรมัยซิน (Azithromycin)
กลไกการออกฤทธิ์ของยาปฏิชีวนะกลุ่มแมคโครไลด์คือ
• ตัวยาจะออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรียที่
ตอบสนองกับยากลุ่มนี้ อีกทั้งยังยับยั้งการเปลี่ยนถ่ายและสลาย
การเชื่อมกันของสารพันธุกรรมชนิดที่เรียกว่า ไรโบโซม
Aminoglycoside
กลไกการออกฤทธิ์ของยากลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์คือ ตัวยาจะ
ออกฤทธิ์รบกวนการท างานของสารพันธุกรรมในแบคทีเรียที่
เรียกว่า อาร์เอ็นเอ (RNA)
Cephalosporin
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเพนิซิลลินคือ ตัวยาจะยับยั้งการ
เจริญเติบโตของแบคทีเรีย โดยจะเข้าไปยับยั้งการสร้าง
สารเปบทิโดกลัยแคน (Peptidoglycan)
Cephalosporin
กลไกการออกฤทธิ์ของยากลุ่มเซฟาโลสปอริน คือ ตัวยาจะรบกวน
การสังเคราะห์เปปทิโด ไกลแคน (Peptidoglycan)
Tetracycline
สรุป
มาลาเลียเป็นโรคที่เกิดจาก protozoa ชนิดหนึ่งคือ plasmodium ได้แก่
Plasmodium falciparum(P.F ), P.vivax ( P.V ) , P. malariae ( P.M )
และ P. ovale ( P.O
ยาต้านไวรัส
ยาต้านไวรัสที่ใช้ในการรักษาการติดเชื้อ Herpes simplex และ Varicella
zoster ได้แก่ acyclovir, valacyclovir, famciclovir, penciclovir,
trifluridine
ยาต้านวัณโรค
Isoniazid (ไอโซไนอะซิด)
• Rifampicin (ไรแฟมพิซิน)
• Pyrazinamide (ไพราซินาไมด์)
• Ethambutol (อีแทมบูทอล)