Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัตฒนาการสมัยรัตนโกสินทร์ - Coggle Diagram
วิวัตฒนาการสมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัชกาลที่ 8
พระองค์เสด็จสวรรคตด้วยทรงต้องพระแสงปืนเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ณ ห้องพระบรรทม พระที่นั่งบรมพิมาน ภายในพระบรมมหาราชวัง
สมัยรัชกาลที่ 6
วงปี่พาทย์มอญ (เครื่องห้า เครื่องคู่ เครื่องใหญ่)
วงปี่พาทย์มอญนิยมบรรเลงในงานศพ
มีเครื่องดนตรีของต่างชาติเข้ามาผสม (ขิมของจีน ออร์แกนของฝรั่ง)
มีการนำเครื่องดนตรี อังกะลุง มาเผยแพร่ในไทย
วงเครื่องสายผสม
สมัยรัชกาลที่ 7
พระองค์ทรงได้พระราชนิพนธ์ เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่ง 3 ชั้น เพลงเขมรลอยองค์ (เถา) และ เพลงราตรีประดับดาว (เถา)
ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ให้ความอุปถัมภ์ทำนุงบำรุงดนตรีไทยในวังต่างๆ
มีวงดนตรีประจำวัง เช่น วังบูรพา วงวังบางขุนพรหม วงวังบางคอแหลม และวงวังปลายเนิน
มีกฎหมายเล่นดนตรีไทย หากจะเล่นต้องขออนุญาตจากทางราชการ
สมัยรัชกาลที่ 3
มีวงปี่พาทย์เครื่องคู่
ประดิษฐ์ระนาดทุ้ม มาคู่กับระนาดเอก
ประดิษฐ์ฆ้องวงเล็ก มาคู่กับฆ้องวงใหญ่
สมัยรัชกาลที่ 9
ดนตรีแนวแจ๊ส
ทรงพระราชนิพนธ์บทเพลงไว้หลายเพลง (เพลงแสงเทียน สายฝน ยามเย็นใกล้รุ่ง ลมหนาว ยิ้มสู้ ค่ำแล้ว ไกลกังวล ความฝันอันสูงสุด เราสู้ และเพลงพรปีใหม่)
ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองเพลง ทั้งสิ้น 48 เพลง มีนองและคำร้องภาษาอังกฤษ 5 เพลง
สมัยรัชกาลที่ 2
เป็นยุคทองของดนตรีไทย
มีซอคู่พระหัตถ์คือซอสายฟ้าฟาด
ราชนิพนธ์เพลงบุหลันลอยเลื่อน
มีการนำวงปี่พาทย์มาบรรเลงประกอบการขับเสภา
กำเนิดกลองสองหน้าซึ่งดัดแปลงมาจากเปิงมาง
สมัยรัชกาลที่ 4
วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่
ระนาดเอกเหล็ก
ระนาดทุ้มเหล็ก
นิยมร้องเพลงส่งให้ดนตรีรับ(การร้องส่ง)
มีเพลงเถามากที่สุด
วงเครื่องสาย
สมัยรัชกาลที่ 5
วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ (ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ระนาดทุ้ม ระนาดทุ้มเหล็ก ขลุ่ย ซออู้ ฆ้องหุ้ย ตะโพน กล้องตะโพน และ เครื่องกำกับจังหวะ)
สมัยรัชกาลที่ 1
ในสมัยนี้ดนตรีไทยส่วนใหญ่ยังคงมีลักษณะรูปแบบตามที่มีมาตั้งแต่ สมัยกรุงศรีอยุธยา ที่พัฒนาขึ้นบ้างในสมัยนี้ก็คือ การเพิ่ม กลองทัด ขึ้นอีก 1 ลูก ใน วงปี่พาทย์ ซึ่ง แต่เดิมมา มีแค่ 1 ลูก รวม มี กลองทัด 2 ลูก มีเสียงสูง (ตัวผู้) ลูกหนึ่ง และ เสียงต่ำ (ตัวเมีย) ลูกหนึ่ง และการใช้ กลองทัด 2 ลูก ในวงปี่พาทย์นี้ ก็เป็นที่นิยมกันมา จนกระทั่งปัจจุบันนี้
คุณค่าและวิธีอนุรักษ์ดนตรีไทย
ศึกษา ค้นคว้า และการวิจัยดนตรีไทยและดนตรีท้องถิ่น ทั้งที่มีการรวบรวมไว้แล้วและยังไม่ได้ศึกษา เพื่อทราบความหมาย และความสำคัญของดนตรีไทยในฐานะที่เป็นมรดกของไทยอย่างถ่องแท้ ซึ่งความรู้ดังกล่าวถือเป็นรากฐานของ การมองเห็นคุณค่า ทำให้เกิดการยอมรับ และนำไปใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม ต่อไป
ส่งเสริมให้ทุกคนเห็นคุณค่า ร่วมกันรักษาเอกลักษณ์ทางดนตรีของชาติและของท้องถิ่นเพื่อสร้าง ความเข้าใจและมั่นใจแก่ประชาชนในการปรับเปลี่ยนและตอบสนองกระแส วัฒนธรรมอื่นๆ อย่างเหมาะสม
รณรงค์ให้ประชาชนและภาคเอกชน ตระหนักในความสำคัญ ของดนตรีไทยว่าเป็นเรื่องที่ทุกคนต้องให้การรับผิดชอบร่วมกันใน การส่งเสริมสนับสนุน ประสานงานการบริการความรู้ วิชาการ และทุนทรัพย์สำหรับจัดกิจกรรมทางด้านดนตรีไทย
ส่งเสริมและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมดนตรีภายในประเทศและระหว่างประเท ศ โดยการใช้ศิลปะวัฒนธรรมดนตรีที่เป็นสื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่ างกัน
สร้างทัศนคติ ความรู้ และความเข้าใจว่าทุกคนมีหน้าที่เสริมสร้าง ฟื้นฟู และการดูแลรักษาดนตรีไทยในฐานะที่เป็นสมบัติของชาติ
จัดทำระบบเครื่อข่ายสารสนเทศทางด้านดนตรีไทยเพื่อเป็นศูนย์กลาง เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานเพื่อให้ประชาชนเข้าใจ และช่วยกันอนุรักษ์ดนตรีไทยเอาไว้
ปลูกฝังทัศนคติที่ดีต่อ ดนตรีไทยให้แก่กลุ่มเด็ก เยาวชนให้มองเห็นว่าดนตรีไทยไม่ใช่ดนตรีที่ล้าหลังหรือไม่ทันสม ัยแต่เป็นดนตรีที่เยาวชนไทยทุกคนควรช่วยกันอนุรักษ์ไว้เพราะเป็ นศิลปะวัฒนธรรมของชาติไทยที่มีมาแต่ช้านาน
ปรับปรุงผสมผสานวัฒนธรรมดนตรีไทยดั้งเดิมกับวัฒนธรรมเพลงสมัยให ม่ เช่นนำเครื่องดนตรีไทยมาประยุกต์ร่วมบรรเลงกับวงดนตรีสากล
9.เผยแพร่ความรู้ด้านดนตรีไทยในสื่อต่างๆเช่น สื่อ วิทยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เนตเพื่อให้ทุคนมีโอกาสได้สัมผัสหรือทำความรู้จักกับเค รื่องดนตรีไทยมากขึ้น