Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อทางเดินอาหาร
1. ยารักษาแผลในทางเดินอาหาร (Ulcer healing drugs)
1.ยาลดกรด Antacid
มีคุณสมบัติเป็นด่างอ่อน จึงสามารถลดกรด ในกระเพาะอาหารได้
กลไกการออกฤทธิ์
ส่งผลให้ Pepsin .ในกระเพาะทำงานได้น้อยลง
เพิ่มแรงดันในหูรูดของหลอดอาหาร
ประโยชน์ใช้ทางคลินิก
ใช้รักษาอาการปวดท้อง (Dyspepsia) แผลในกระเพาะอากหาร(peptic ulcer disease ) อาหารไม่สุขสบายในช่องท้องส่วนบน
ผลทางเภสัชวิทยาของยาลดกรด
ทำให้ pH ในกระเพาะอาหารสูงขึ้น
.2.ขนาดที่ให้เเละสภาวะของกระเพาะอาหารว่ามีอาหารอยู่หรือไม่
เริ่มยับยั้งการทำงานของ Pepsin เมื่อ pH ในเพาะอาหาร มากกว่า 2
ยาลดกรด แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
1.ยาลดกรดที่ออกฤทธิ์โดยทั่วไป (Systermic Gastric Antacid)
ยาลดกรดที่รับประทานเข้าไปเเล้วจะมีส่วนหนึ่งดูดซึมเข้ากระเเสเลือด มีผลทพำให้เกิดการเปลี่ยนสมดุลกรดด่าง ในร่างกาย
ช่วยบรรรเทาอาการปวดท้องเเละไม่เหมาะสำหรับรักษาโรค Pud ยานี้ออกฤทธิ์สั้น ละลายน้ำได้ดี
2.ยาลดกรดที่ออกฤทธิ์เฉพาะที่ (non- systermic gastric antacid)
ซึ่งการรับประทานยาลดกรดชนิดน้ำจะให้ผลดีในการรักาาแผลในกระเพาะอาหารได้ดีกว่าชนิดเม็ด
2.1 Aluminium hydroxide(AL(OH))
เป็นยาลดกรดที่มีฤทธิ์อ่อนที่สุด
ผลข้างเคียง
มีผลต่อการเคือนไหว ของทางเดินอาหาร ทำให้เกิดอาการท้องผูก จึงมักใช้ยานี้
หากใช้ยานี้จะทำให้เกิดฟอสเฟตในเลือดต่ำ
2.2 Magnesium hydroxide
ยาจะทำปฏิกิริยาทางเคมีกับกรดเกลือในกระเพาะอาหาร
ยาถูกดูซึมเข้าทางเดินอาหารน้อยมาก
ผลข้างเคียง
ระวังผู้ป่วยในโรคไต อาจทำให้เกิด ระดับ magnesium สูง
ยาขับออกทางไตได้ดี เนื่องจากยา เพิ่มระดับ pH ในปัสสาวะ หากระบประทานยานานอาจส่งผลให้แมกนีเซียมเกาะ
2.3 Cacluium carbonate (CaCo 3)
ออกฤทธิ์กรดได้ดี ยาถูกดูดซึมประมาณ 15 %
ผลข้างเคียง
ท้องผูก อุจจาระเเข็ง ทำให้ถ่ายลำบาก ท้องอืด เรอ คลื่นไส้
หากใช้ยาเป็นเวลานานเเละทำการหยุดยา ทำให้เกิดภาวะการหลั่งกรด
ข้อควรระวัง
การใช้ยาลดกรดขนาดสูง จะมีผลทำให้ pH ในกระเพาะอาหารสูงเกิน 4.5
2.ระวังการใช้ยาลดกรดร่วมกับยาชนิดเม็ดที่เคลือบสารป้องกัน
2.ยาระงับการหลั่งกรด (Anti Secreyory Drugs )
อยู่ภายใต้การควบคุมของ ฮอร์โมน Histamin, Actetycholine
ยาระงับการหลั่งกรด(Anti Seretory Drugs )
1. ยาต้านฤทธิ์ ฮีสตามีน 2
ยากลุ่มนี้ออกฤทธิ์เฉพาะเจาะจง ที่ receptor ของ histamin
กลไกกการออกฤทธิ์
มีการออกฤทธิ์เเย่งจับ (competotive inhibitor) กับ parietal cell ของกระเพาะอาหาร
เภสัชจลศาสสตร์
ยานี้ถูกดูดซึมที่ลำไส้เล็ก ส่วนใหญ่มีค่าครึ่งชีวิต (Half lift) สั้น ประมาณ 1-4 ชั่วโมง ระยะการออกฤทธิ์จะอยู่ที่ 6-9 ชั่วโมง ในผู้ป่วยโรคไตเเละผู้สูงอายุที่มีการทำงานของลดลง ควรประับขนาดยาให้เหมาะสม
ประโยชน์ทาางคลินิก
ใช้ป้องกันภาวะเลือดออกทางเดินอาหารในผู้ป่วยวิกฤต โดยการให้ยาเข้าฉีดทางหลอดเลือดดำ
ผลข้างเคียง
Cimetidine มักพบอาการข้างเคียงยาตัวอื่น ในกลุ่ม เช่น ท้องเสีย ท้องผูก อาเจียน
ยา กลุ่มนี้ผ่านรกได้ เเละถูกขับออกทางน้ำนม(ควรระวังการใช้ในหญิงให้นมบุตร)
ปฏิกิริยากับยาอื่นๆ(Drugs interrations)
-Cimedine เป็นเอนไซม์ยั้บยั้ง CYP450
H2 bloker เป็นยาเบส จะไปยับยั้งขับยาอื่นที่เป็นออกจากไต
2.ยาระงับ Proton pump (pro pump inhibitors)
กลไกการออกฤทธิ์
ยากลุ่มนี้เป็นคุณสมบัติด่างอ่อน อยู่ในรูป ของ Prodrug เมื่อถูกดูดซึมเข้าสู่ลำไส้เล็กจะถูกเปลี่ยน เป็น Active From
เภสัชจลศาสสตร์
ยาดูดศซึมได้รวดเร็วในทางเดินอหาร เเต่เนื่องด้วยกรดในกระเพาะอาหารทำลายยาได้ จึงต้องทำในรูปแบบของยา enteric - coated ablets ยาในกลุ่มนี้ มี haif life สั้น
ประโยชน์การใช้ยาทางคลินิก
ยากลุ่มนี้เป็นยากลุ่มตัวเเรกที่ ใช้รักษาลดกรด ได่แก่ แผลในทางเดินอาหาร (peptic ulcer) โรคกรดไหลย้อน(GERD)
ผลข้างเคียง
ยากลุ่มนี้มีผลข้างเคียงต่ำ เเต่อาจทำให้ปวดศรีาะ มึนงง มีผื่นเดงตามตังว
ลดการดูดซึมวิตามีน
3
. Prostaglasdins analong
กลไกกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ควบคุมเยื่อเมือก ในทางเดินแาหาร เเละมีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกรด จาก Parietal cell ในกระเพาะอาหาร
ขนาดยาที่ใช้ ในการบริหารยา
ยามีค่าครึ่งีชีวิตสั้น คือ20-40 นาที หากจะให้ผลดีต่อการรักษา จึงครวรับประทา 3-40 ครั้ง
ประโยชน์ทางคลินิก
ใช้ป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารจากาใช้ยา NSAIDs ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง
ผลข้างเคียง
ยาไปเพิ่มการหลั่งสารคัดหละ่ง ใทางเดินอาหารมากขึ้น
4. ยาที่ใช้ ขจัดเชื้อ เเบคทีเรีย Helicobacter pylori
ฌป้นสาเหตุหลักของการเกิดแผในกระเพาะอาหาร หากมีการติดเชื้อดังกล่าว จำเป็นต้องได้รับยากำจัด
สูตรยาจะประกอบด้วย
-ยา PPIsรับประทานวันละ 2 ครั้งก่อนอาหาร
-CIARITHROMY IN 500 mg รับประทาน ครั้งละ 2ครั้ง
Amoxcillin 1000 mg รับประทานวันละ 2 ครั้ง
2.ยาระงับอาการคลื่นไส้เเละอาเจียน
(Antiemetic agents )
ที่บอกถึงอาการผิดปกติในร่างกาย ถูกควบคุม 2 ชนิด
ศูนย์อาเจียน(vormitting center) เเละศูนย์ควบคุมทการอาเจียน(CTZ)
1. ยาที่มีฤทธิ์ปิดกั้นตัวรับของ ฮีลตามชนิดที่ 1
(Hittamin H 1 - receptor antagonists
)
ใช้ป้องกันหรือระงับอาการคลื่นไส้อาเจียน จากการคลื่นไหว (motion sickness)
*2. ยาที่มีฤทธิ์โคลิเนอร์จิก (Anticholinergic drugs )
ใช้ในการป้องกัน อาเจียนจากการเมาเรือ เมารถ โดยรับประทาน ก่อนเดินทาง 30 นาที ลดการนำกระเเสประสาทเข้าสู่ CTZ
3.ยาที่มีฤทธิ์ปิดกั้นตัวรับเซอโรโตนิน (5HT3)
ออกฤทธิ์ปิดกั้น ที่ (5HT3 )-receptor ซึ่ง มี receptor อยู่ที่ปลายประสาทเวกัส ใช้ในการรักษามะเร็ง
4. ยาที่มีฤทธิ์ปิดกั้นตัวรับโดดปามีน ชนิดที่ 2
(Dopamine D 2 )
เป็นตัวรับสำคัญในกระบวนการกระตุ้นให้เกิดอาการอาเจียนซึ่งอยู่ที่ CTZ เเละสามารถถูกกระตุ้นโดยสารเคมีในเลือดได้โดยตรง
4.1 Metochlopramine
ออกฤทธิ์ปิดกั้น D 2 receptor ใช้ระงับอาเจียนในผู้ที่ได้รับยาเคมีบำบัด ขนาดยายาที่ใช้ ไม่เกิน 0.5 mg
4.2 Domperidone
ออกฤทธิ์กระตุ้นการเคลื่อนไหวของทางเดินอาหารเเละเป็นยาระงับการอาเจียนมีฤทธิ์ต้าน DA ยาตัวนี้ต้องใช้อย่างระมัดระวัง
Medicine Agency
ใช้บรรเทาการคลื่นไส้อาเจียน ในช่วงส้ั้นๆไม่เกิน 7 วัน