Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
เลือดและส่วนประกอบของเลือด
เลือด (whole blood)ประกอบด้วย
1.เซลล์เม็ดเลือด แบ่งเป็น เซลล์เม็ดเลือดแดง (red blood cell หรือ erythrocyte) เซลล์เม็ดเลือดขาว (white blood cell หรือ leukocyte)
2.เกร็ดเลือด (platelet)
3.น้ำเลือด (plasma)
การให้เลือด (Blood transfusion)
หมายถึง การให้เลือด หรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือเฉพาะน้ำเลือด แก่ผู้ป่วยโดยผ่านเข้าทางหลอดเลือดดำ
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น แต่ต้องดูกรุ๊ปเลือดตามระบบ ABO ด้วย (หาก คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve รับเลือดจาก Rh+ve อาการข้างเคียงจะยิ่งรุนแรงมากขึ้น ในครั้งถัดๆไป)
คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O เท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ปABรับได้จากทุกกรุ๊ปแต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ปAB
คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B และ O ให้ได้กับ B และ AB
คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A และ O ให้ได้กับ A และ AB
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
เกิดจากการให้เลือดผิดหมู่ เม็ดเลือดแดงจะแตกและ บางส่วนไปอุดตันหลอดเลือดฝอยของท่อไตทำให้ไตวาย
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป (Volume overload)
เกิดจากการให้เลือดใน อัตราเร็วเกินไป จึงเพิ่มปริมาตรการไหลเวียนในกระแสเลือด ส่งผลให้หัวใจทำงานหนักขึ้น เกิดภาวะหัวใจวาย และมีอาการน้ำท่วมปอด
ไข้(Febrile transfusion reaction)
เกิดจากการได้รับสารที่ทาให้เกิดไข้เชื้อแบคทีเรียจาก เครื่องใช้หรือเทคนิคการให้เลือดที่ไม่สะอาด
ปฏิกริ ยิ าภูมิแพ้ (Allergic reaction)
เกิดจากผู้รับแพ้สารอย่างใดอย่างหนึ่งในเลือดที่ได้รับ ผู้ป่วย จะมีอาการมีผื่นคัน หรือลมพิษ อาการคั่งในจมูก หลอดลมบีบเกร็ง หายใจลาบาก ฟังได้เสียงวี๊ซ (wheeze) ใน ปอด
การถ่ายทอดโรค (Transfusion-associated graft versus host disease)
มักเกิดจากการขาดการตรวจสอบเลือดของผู้ให้ ซึ่งมีการติดเชื้อต่าง ๆ
การอุดตันจากฟองอากาศ(Airembolism)
ไปอุดตันหลอดเลือดดำให้ขัดขวางการนาออกซิเจนไปเลี้ยงอวัยวะส่วนนั้น
ถ้าฟองอากาศไปอุดตันที่ปอดจะเจ็บหน้าอก หอบเหนื่อย เป็นลม ช็อค และถึงแก่กรรมได้
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
การแข็งตัวของเลือด (Acid – citrate dextrose) เพิ่มขึ้นและไปจับตัวกับแคลเซี่ยมในเลือด
ระดับแคลเซี่ยมจึงลดน้อยลง พบว่าผู้ป่วยมีอาการกล้ามเนื้อเป็นตะคริวเจ็บแปลบตามปลายนิ้วมือ
ถ้าขาดแคลเซี่ยมมากจะเป็น ลมชัก มีอาการบีบเกร็งของกล้ามเนื้อบริเวณกล่องเสียง
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ(Hyperkalemia)
เกิดจากการให้เลือดที่เก็บไว้ในธนาคารเลือดนานเกินไป หลังจากที่ผู้ป่วยได้เลือดจะพบอาการคลื่นไส้อาเจียน ท้องเดิน กล้ามเนื้ออ่อนแรง อาการคล้ายอัมพาตบริเวณ ใบหน้ามือและขา ชีพจรเบา
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ประเมินสภาพร่างกาย
ประเมินสภาพจิตใจ
ประเมินสิ่งแวดล้อม
ประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้เลือดและสารประกอบของเลือดตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
วางแผนให้ผู้ป่วยได้รับเลือดและสารประกอบของเลือดโดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights และหลัก ความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
เตรียมอุปกรณ์ให้ครบและปฏิบัติตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ประเมินผลการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การดูแลผู้ป่วยภายหลังได้รับเลือด
1) ตรวจสอบสัญญาณชีพหลังการให้เลือด 15 นาที และต่อไปทุก 4 ชั่วโมง
2) สังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดอย่างต่อเนื่อง
3) ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายตลอดระยะเวลาที่ให้เลือด
4) บันทึกหมู่เลือด ชนิดของเลือด หมายเลขเลือด ปริมาณเลือด วัน เวลา ชื่อผู้ให้ เลือด และบันทึกอาการของผู้ป่วยหลังให้เลือด ลงในแบบบันทึกการพยาบาล
การปฏิบัติเมื่อพบอาการแทรกซ้อนในผู้ป่วยที่ได้รับเลือด
4) เตรียมสารน้าและยา เพื่อให้การรักษาตามแพทย์กำหนด
1) หยุดให้เลือดทันทีแล้วเปิดทางหลอดเลือดดา (KVO) ด้วย NSS
2) รายงานแพทย์
3) ตรวจสอบสัญญาณชีพ และสังเกตสังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดอย่างใกล้ชิด
5) ส่งขวดเลือดและเจาะเลือดของผู้ป่วยจากแขนที่ไม่ได้ให้เลือดไปยังห้องปฏิบัติการเพื่อ ตรวจสอบ
6) บันทึกจานวนสารน้าที่นาเข้า–ออกจากร่างกาย เพื่อดูการทางานของไต และนาปัสสาวะ ส่งตรวจในรายที่ได้รับเลือดผิดหมู่
7) การหยุดให้เลือด
การบันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออกจากร่างกาย (Record Intake-Output)
จำนวนน้ำที่ร่างกายขับออก(Fluid output)
หมายถึงจำนวนน้ำที่ร่างกายสูญเสียออกนอก ร่างกายด้วยวิธีการต่างๆ ได้แก่ ทางปัสสาวะ อาเจียน อุจจาระ ของเหลวที่ออกจากท่อระบายต่างๆ
จำนวนน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
หมายถึง จำนวนน้ำหรือของเหลวทุกชนิดที่ร่างกาย ได้รับ ซึ่งจะได้รับด้วยวิธีใดก็ตาม ได้แก่ ได้รับทางปาก การได้รับอาหารทางสายให้อาหาร การได้รับสารน้ำ ยา หรือส่วนประกอบของเลือดเข้าทางหลอดเลือดดำ
หลักการบันทึกจำนวนสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย
1) แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย เพื่อสะดวกในการจดบันทึกและเมื่อครบ 24 ชั่วโมง ต้องสรุปลงในแผ่นรายงานประจาตัวของผู้ป่วย
2) อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจานวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
3) ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกาหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
4) จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร พร้อมทั้ง อธิบายให้ผู้ป่วยดื่มน้ำในขวดที่เตรียมไว้ให้
5) การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
6) บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่น ๆ