Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ -1-638 …
บทที่ 3
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์สำหรับพยาบาล
และการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ประเภทของนิติกรรม
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามจำนวนคู่กรณี
นิติกรรมฝ่ายเดียว เช่น พินัยกรรม คำมั่นจะให้รางวัล
นิติกรรมหลายฝ่าย เช่น สัญญาใช้ทุนการศึกษา
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามการมีผลของนิติกรรม
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนายังมีชีวิต
เช่น การให้โดยเสน่หา สัญญาการซื้อขาย
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนาไม่มีชีวิต เช่น พินัยกรรม
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามค่าตอบแทน
นิติกรรมที่มีค่าตอบแทน อาทิ สัญญาจ้างงาน สัญญาซื้อขาย
นิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน อาทิ การให้โดยเสน่หา สัญญายืมเงินโดยไม่มีดอกเบี้ย
ความสามารถของบุคคลในการให้การยินยอมรักษาพยาบาล
บุคคลธรรมดา
การตายโดยธรรมชาติหมายถึง การป่วยตาย แก่ตาย หรือถูกฆ่าตายของบุคคล ทำให้สภาพบุคคลสิ้นสุด
การสาบสูญ หมายถึง การที่บุคคลได้ไปจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่
นิติบุคคล
ผู้เยาว์
บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะในทางกฎหมาย
ต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม (Legal representative)
คนไร้ความสามารถ
คนวิกลจริตหรืออยู่ในภาวะผัก
หากจำเป็นต้องทำนิติกรรมใดๆ ผู้อนุบาลต้องเป็นผู้ทำแทน
คนเสมือนไร้ความสามารถ
บุคคลที่ไม่สามารถจัดทำการงานโดยตนเอง สร้างความเสื่อมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรือครอบครัว
ถ้ากระทำโดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้พิทักษ์ ถือว่านิติกรรมนั้นเป็นโมฆียะ
ลูกหนี้ที่ถูกศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็นผู้มีอำนาจในการจัดการ
ลูกหนี้จึงเป็นผู้หย่อนความสามารถไม่สามารถกระทำการใดๆเกี่ยวกับทรัพย์สินของตน
สามีภริยา
เป็นผู้จัดการสินสมรสร่วมกัน
ต้องให้ความยินยอมซึ่งกันและกันเป็นการทำนิติกรรม
บางประเภท เช่น การซื้อขาย แลก เปลี่ยน
สภาพบังคับทางแพ่ง
โมฆะกรรม หมายถึง ความเสียเปล่าของนิติกรรม
โมฆียกรรม หมายถึง การทำนิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์ในขณะกระทำ
แต่สามารถบอกล้างหรือปฏิเสธนิติกรรมในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด
การบังคับชำระหนี้ เป็นการชำระเงิน ส่งมอบทรัพย์สิน กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อใช้หนี้
ค่าสินไหมทดแทน รับรองและคุ้มครอง
สิทธิผู้เสียหายให้กลับคืนสู่ฐานะเดิมมากที่สุด โดยการคืนทรัพย์สิน
ความรับผิดทางแพ่ง
การกระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
หมายถึง การประทุษกรรม หรือการฝ่าฝืนข้อห้าม
การกระทำโดยจงใจ ที่ตั้งใจหรือเจตนาโดยผิดกฎหมาย
การกระทำโดยประมาทเลินเล่อ มิได้จงใจ แต่กระทำโดยปราศจาก
ความระมัดระวังในระดับวิญญูชน
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย หรือได้รับความเสียหายต่อชีวิต
บุคคลต้องร่วมรับผิดกับผู้กระทำ
นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งการละเมิด
ตัวการต้องรับผิดชอบผลแห่งการละเมิด
บิดามารดาของผู้เยาว์หรือผู้อนุบาลของผู้วิกลจริต
ครูบาอาจารย์นายจ้างหรือบุคคลอื่น
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๑๙ บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะ
มาตรา ๒๓ ผู้เยาว์อาจทำการใดๆได้ทั้งสิ้น ซึ่งเป็นการต้องทำเองเฉพาะตัว
มาตรา ๒๕ ผู้เยาว์อาจทำพินัยกรรมได้เมื่ออายุสิบห้าปีบริบูรณ์
มาตรา ๒๙ การใดๆอันบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถได้กระทำลงการนั้นเป็นโมฆียะ
มาตรา ๘๓ สมาคมที่ได้จดทะเบียนแล้วเป็นนิติบุคคล
มาตรา ๑๕๒ การใดมิได้ทำให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายบังคับไว้
การนั้นเป็นโมฆะ
กฎหมายอาญาสำหรับพยาบาล
และการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ประเภทของความรับผิดทางอาญา
ความผิดต่อแผ่นดิน เป็นความผิดที่สำคัญและร้ายแรง มีผลกระทบต่อผู้เสียหายและสังคมส่วนรวม
ความผิดต่อส่วนตัว เป็นความผิดที่ไม่ร้ายแรง มีผลกระทบต่อผู้เสียหายฝ่ายเดียว
ลักษณะสำคัญของความรับผิดทางอาญา
ต้องมีบทบัญญัติความผิด และกำหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง
ต้องตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร
ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
การกระทำ ผู้กระทำต้องรู้สึกตัวและรู้ว่าตนกำลังทำสิ่งใด
กฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดและกำหนดโทษ
กระทำโดยเจตนา การกระทำโดยรู้สำนึกในการที่กระทำ
การกระทำโดยประมาท โดยปราศจากความระมัดระวัง
การกระทำโดยไม่เจตนา หมายถึง การกระทำที่ผู้กระทำไม่ได้ตั้งใจให้เกิด
โทษทางอาญา
โทษประหารชีวิต เป็นโทษสูงสุด
โทษจำคุก เป็นโทษจกัำดเสรีภาพของนักโทษที่ถูกควบคุมไว้ในเรือนจำ
โทษกักขัง เป็นโทษที่เปลี่ยนจากโทษอย่างอื่น
โทษปรับ การเสียค่าปรับ
โทษริบทรัพย์สิน
ความรับผิดทางอาญาการพยาบาล
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพ
ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ การแพทย์ไม่ถูกต้อง
ความบกพร่องด้านการสื่อสาร
ความบกพร่องด้านการไม่พิทักษ์สิทธิของผู้ป่วย
การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย
เป็นเหตุให้อันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่
เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ที่ดูแลคนวิกลจริตหรือผู้ป่วยจิตเวช ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท
การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย
ไม่วางแฟ้มประวัติหรือเขียนการวินิจฉัยไว้ที่ปลายเตียง/หน้าห้องผู้ป่วย
ไม่นำเรื่องของผู้ป่วยมาวิพากษ์วิจารณ์ให้บุคคลภายนอกได้ยิน
กรณีศึกษาของนักศึกษาพยาบาล ไม่ควรเขียนนามสกุลจริงของผู้ป่วย
ไม่เปิดเผยข้อมูลของผู้ป่วยแก่ญาติหรือคนอื่น โดยผู้ป่วยไม่ยินยอม
การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร
ความผิดฐานปลอมเอกสาร
ความผิดฐานทำหรือรับรองเอกสารเท็จ
การทำให้หญิงแท้งลูก
การทำให้ตนเองแท้งลูก
จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท
ทำให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายยินยอม
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท
ทำให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายไม่ยินยอม
ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 7 ปีหรือปรับไม่เกิน 140,000 บาท
ประมวลกฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๑๙ ผู้ใดต้องโทษประหารชีวิต ให้ดำเนินการด้วยวิธีฉีดยาหรือสารพิษให้ตาย
มาตรา ๒๘ ผู้ใดต้องโทษปรับ ผู้นั้นจะต้องชำระเงินตามจำนวนที่กำ าฃฃหนดไว้ในคำพิพากษาต่อศาล
มาตรา ๗๓ เด็กอายุยังไม่เกินสิบปี กระทำการอันกฎหมายบัญญัติเป็นความผิดเด็กนั้นไม่ต้องรับโทษ