Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ หมายถึง
การฉีดของเหลวเข้าหลอดเลือดดำโดยตรง
มีวัตถุประสงค์เพื่อ
รักษาภาวะสมดุลของน้ำและสารน้ำในร่างกาย
รักษาภาวะสมดุลของความเป็นกรด-ด่างในร่างกาย
รักษาภาวะสมดุลและปริมาตรของเลือดและส่วนประกอบของเลือด
ให้ยาฉีดบางชนิดเข้าทางหลอดเลือดดำ
5.ให้สารอาหาร วิตามินและเป็นแหล่งพลังงานแก่ผู้ป่วย
ที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
(Peripheral intravenous infusion)
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้น ๆ ของผิวหนังหรือหลอดเลือดดำที่อยู่ในส่วนปลายของแขนและขา
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
(Central venous therapy)
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central Line ทางหลอดเลือดดำใหญ่ ๆ ได้แก่ Subclavan vein, Internal & External jugular veins และ Right & Left Nominate veins
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง (Implanted vascular access device หรือ venous port)
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลวทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนังโดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่
เช่น Subclaian vein, light & Left Nominate veins
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดด
สารละลายไอโซโทบิก (Isotonic solution)
จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเขลล์ (Extracellular fluid) ซึ่งมีออสโมสาริตี้ระหว่าง 280-310 m0smd
สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonle solution)
ค่าออสโมสาร์ตี้น้อยกว่า 280 m0smd
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
ค่าออสโมลารีมากกว่า 310 m0smd
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
2.ความหนืดของสารน้ำ
3.ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
4.เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมากจะบังคับการหยดได้ไม่ดีพออัตราการหยดจะเร็ว
5.ความยาวของสายให้สารน้ำ
6.การผูกยึดบริเวณหลอดเลือดแน่นหรือตึงเกินไป
7.การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
8.การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่นหรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
1.ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่ง
1) เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
2) ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน ได้แก่ Cephalic vein และ Basilic vein
3) ตรวจสอบบริเวณตาแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม เช่น ไม่มีบาดแผล
4) ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
5) หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ หรือถ้าจำเป็นให้ใช้ไม้ดามป้องกันการงอพับ
6) คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้ หากเป็นชนิด Hypertonic เนื่องจากสารน้ำมีความเข้มข้นของสารละลายสูง และมีความหนืดควรเลือกหลอดเลือดเส้นใหญ่ในการให้สารน้ำ
อาการแทรกซ้อนจากการให้
สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่
(Localcomplication)
การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอกหลอดเลือดดำ(Infiltration)
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม (Extravasations)
การติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection) บวมแดง ร้อน บริเวณที่แทงเข็มให้สารน้าอาจจะมีหนองบริเวณที่แทงเข็ม
หลอดเลือดดาอักเสบ(Phlebitis)ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวมตาแหน่งที่แทงเข็มแดงร้อนไปตามแนวของหลอดเลือด
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด
(Systemiccomplication)
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ (Allergic reaction) มีผื่นแพ้เกิดขึ้นที่ผิวหนัง ร่วมกับอาการแพ้ต่าง ๆ เช่น น้ามูกไหล คันที่ผิวหนัง
การติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia หรือ Septicemia)
มีไข้สูง หนาวสั่น ความดัน โลหิตลดลง คลื่นไส้ อาเจียน
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด(Airembolism)
ให้สารน้าเร็วเกินและมากเกินไป (Circulatory overload) อาจเกิดอาการหัวใจวาย (Cardiac failure) และ/หรือ น้ำท่วมปอด (Pulmonary edema) ได้
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1) โรคทางเดินอาหาร เช่น อุจจาระร่วงเรื้อรัง
2) โรคของอวัยวะต่างๆ เช่น ภาวะไตวาย
3) ภาวะทางศัลยกรรม เช่น ถูภายหลังการผ่าตัด
4) ความผิดปกติของจิตใจ เช่น anorexia nervosa
5) โรคมะเร็งต่างๆ เช่น มะเร็งกระเพาะอาหาร
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
คาร์โบไฮเดรต นิยมใช้ในรูปของกลูโคส ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ต่อ 1 กรัม
สารละลายไขมัน (fat emulsion) ให้พลังงาน 9 กิโลแคลอรี่ต่อ 1 กรัม
โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ต่อ 1 กรัม
4.วิตามินให้ทั้งชนิดละลายในน้ำและชนิดละลายในไขมัน
น้ำให้คำนวนตามน้ำหนักตัวผู้ป่วย
เกลือแร่
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition (TPN) เป็นการให้โภชนบาบัดครบตามความต้องการของผู้ป่วย ทั้งปริมาณพลังงานที่ต้องการ และสารอาหารทุกหมู่
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN) เป็นการให้โภชนบาบัดทางหลอดเลือดดำเพียงบางส่วน อาจได้พลังงานไม่ครบตามความต้องการ หรือได้สารอาหารไม่ครบทุกหมู่
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein)
ข้อจากัดคือ ไม่สามารถให้น้าตาลกลูโคสมากกว่าร้อยละ 10
ของสารละลายเพราะ สารละลายจะมีค่าออสโมลาลิตี้สูง
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ (central vein)
เหมาะสาหรับผู้ป่วยที่จาเป็นต้องได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นเวลานานและ ต้องการพลังงานค่อนข้างสูง
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง(Localinfiltration)เกิดขึ้นเมื่อเข็มเคลื่อน ออกจากหลอดเลือด พบได้บ่อยในหลอดเลือดที่เล็ก บาง หรือผู้ป่วยที่มีกิจกรรมมากๆ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด (Embolism) ที่พบบ่อยจะเป็นก้อนเลือด (thromboembolism) และอากาศ (air embolism)
การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload)
ไข้ (pyrogenic reactions)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำและยาทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
โดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goal
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เตรียมเครื่องงมือและปฏิบัติตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ประเมินกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินคุณภาพการบริการ