Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
ผู้ป่วยที่ต้องงดอาหารและน้ำดื่ม เพื่อเตรียมผ่าตัด
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถ รับประทานอาหารทางปาก หรือรับประทานอาหารทางปากได้ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลว ทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนัง โดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย (Assessment)
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ
ไม่เกิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
เกณฑ์การประเมินผล
บริเวณที่ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำไม่มีบวมแดง
สัญญาณชีพปกติ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดำ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการบริหารยา
วางแผนบริหารยาตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
วิธีการฉีดยาแบบที่ 1 IV plug กับ piggy back (100 ml)
เครื่องใช้
syringe 0.9 % NSS 3 ml พร้อมเข็มเบอร์ 23 จ านวน 2 อัน
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
IV set ใช้ drip ยา พร้อมเข็มเบอร์ 23
ถุงมือสะอาด, mask
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยา
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
แขวน piggy back กับเสาน้ าเกลือ มือขวาหยิบ syringe 0.9 % NSS 3 ml ถอดปลอกเข็ม วางลงบนถาด แล้วไล่อากาศออกให้หมด
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรง
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
(คำนวณหยดของยาฉีด 100 ml ให้หมดใน 30 นาที)
เมื่อยาฉีดหมด ปิด clamp มือขวาดึงเข็มออก ปิดปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียว
วิธีการฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IV push
เครื่องใช้
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml)
syringe IV push ยา พร้อมเข็มเบอร์ 23
syringe 0.9 % NSS 3 ml พร้อมเข็มเบอร์ 23 จำนวน 2 อัน
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ถุงมือสะอาด, Mask
วิธีการฉีดยา
มือขวาหยิบ syringe 0.9 % NSS ถอดปลอกเข็มวางบนถาด ไล่อากาศออกให้หมด
มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรงจุกยางของ IV plug ดึง plunger ดูว่ามีเลือดออกตามมาหรือไม่?
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug ด้วยส าลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ถอดปลอกเข็มของ syringe ไล่อากาศออกให้หมด มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวา จับ syringe แทงเข็มตรงจุดยางของ IV plug มือขวาดัน plunger ฉีดยาช้า ๆ จนยาหมด
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
มือขวาดึง syringe ออก ปิดปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียว
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
เครื่องใช้
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml) 2. syringe IV push ยา พร้อมเข็มเบอร์ 23 3. สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% 4. ถุงมือสะอาด, mask
วิธีการฉีดยา
วิธีการ1-4เหมือน1-2-3
(ถ้ามีเลือดออกมาแสดงว่า IV catheter ) อยู่ในตeแหน่งของหลอดเลือดดe ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดeช้า ๆ จนยาหมด syringe
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ surg plug มือขวาดึง syringe ออก เช็ด surg plug ด้วยสeลีชุบ แอลกอฮอล์ 70% อีกครั้ง
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
เครื่องใช้
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml) 2. IV set พร้อมเข็มเบอร์ 233. สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% 4. ถุงมือสะอาด, mask
วิธีการฉีดยา
มือซ้ายจับ three ways มือขวาหมุน ข้อต่อ three ways
(คeนวณหยดของยาฉีด 100 ml ให้หมดใน 30 นาที)
วิธีการ1-4เหมือน1-2-3-4
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ three ways มือขวาเช็ด three ways ด้วยสeลีชุบแอลกอฮอล์ 70% แล้วปรับข้อต่อ three ways ปิดด้านที่ฉีดยา
วิธีการฉีดยาแบบที่ 6 three ways กบั syringe IV push
วิธีการฉีดยา
เก็บของใช้เข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ยาวิธีใดวิธีหนึ่งจาก 6 วิธีแล้วนั้น
เครื่องใช้
เหมือนกัน
วิธีการฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
เครื่องใช้
IV set พร้อมเข็มเบอร์ 23
สำลีชุแอลกอฮอล์ 70%
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml)
ถุงมือสะอาด, mask
วิธีการฉีดยา
เช็ด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% สวมปลาย set IV เข้ากับ surg plug เปิด clamp ปรับหยดยา 50 หยอด/นาที (ค านวณหยดยาฉีด 100 ml ให้หมดใน 30 นาที)
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ surg plug มือขวาเช็ด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% ดึง set IV ออก เช็ด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% อีกครั้ง
วิธีการฉีด1-5เหมือนกัน
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการบริหารยาฉีด
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงาน
ประเมินคุณภาพของการให้บริการ
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
ความหนืดของสารน้ำ
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น หรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไฮโปโทนิก
Osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์
การให้สารน้ำชนิดนี้ต้องให้อย่างช้า ๆ เพื่อป้องการลบกวนของเซลล์
สารละลายไฮเปอร์โทนิก
มีมากกว่าออสโมลาริตี้ของน้ำนอกเซลล์
โมเลกุลอิสระของน้ำน้อยกว่าน้ ำใน เซลล์ และจะทำให้เกิดการดึงน้ำจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน
สารละลายไอโซโทนิก
มีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์
ช่วยเพิ่มปริมาตรของน้ำที่อยู่นอกเซลล์
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ าทางปากไม่ได้
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
3) ภาวะทางศัลยกรรม
4) ความผิดปกติของจิตใจ
2) โรคของอวัยวะต่างๆ
5) โรคมะเร็งต่างๆ
1) โรคทางเดินอาหาร
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
คาร์โบไฮเดรต
สารละลายไขมัน
โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน
วิตามิน
เกลือแร่
น้ำให้คำนวณจำนวนน้ำที่จะให้แก่ผู้ป่วยตามน้ำหนักตัว
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition (TPN)
ต้าแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่
อุปกรณ์ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
สายให้อาหารทางหลอดเลือดดำ ปัจจุบันสายให้อาหารทางหลอดเลือดดำมีรูปแบบต่างๆ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของผู้ป่วยแต่ละราย
ชุดให้สารอาหาร
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วยโดยเช็ดบริเวณรอยต่อด้วยสำลีชุบ แอลกอฮอล์ ปิดด้วยผ้าก๊อซปราศจากเชื้อ
ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแผนการรักษา
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิดและปริมาณของสารอาหาร อัตราหยดต่อนาที วันและเวลาที่เริ่มให้ วันและเวลาที่สารอาหารหมด ชื่อผู้เตรียมสารอาหาร
ตรวจสอบ PPN หรือ TPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร ปิดผ้าก๊อซปราศจากเชื้อบริเวณรอยต่อโดยใช้ เทคนิคปราศจากเชื้อ
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือ TPN ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้ง สวมmask
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ไข้
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
การให้สารอาหารมากเกินไป
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง
การหยุดให้สารอาหารทางหลอดเลือดด
เมื่อความเข้มข้นของกลูโคสในสารละลายลดลงเหลือร้อยละ 5 ก็อาจจะยกเลิกการให้สารอาหารทาง หลอดเลือดด าในวันรุ่งขึ้น ทั้งนี้อาจจะใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 5-7 วัน
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้เลือดและสารประกอบของเลือดตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights และหลัก ความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
วัตถุประสงค์ของการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ทดแทนเม็ดเลือดแดง และรักษาระดับฮีโมโกลบิน
ทดแทนปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
ทดแทนปริมาณเลือดที่สูญเสียไป
เกณฑ์การประเมิน
ปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
วิธีท้าการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
แขวนขวดเลือดกับเสาน้ำเกลือแขวนให้สูงประมาณ 1 เมตร (3 ฟุต)จากผู้ป่วย
บีบ chamber ของ blood set ให้ เลือดไหลลงมาในกระเปาะประมาณ ½ ของกระเปาะ
9 ต่อ three ways กับ extension tube แล้วมาต่อกับ blood set ปิด clamp
การเตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
ต่อ blood set กับ ขวดเลือด
เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
เช็ดรอบ ๆ ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ดึงที่ปิดถุงเลือดออก
ล้างมือให้สะอาด
ลงบันทึกทางการพยาบาล
บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้ เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจ และลดความวิตกกังวล และผู้ป่วยให้ความร่วมมือ
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบรายชื่อนามสกุล เตียงผู้ป่วยให้ตรงกับป้ายข้อมือผู้ป่วย อีกครั้ง
ตรวจสอบชื่อนามสกุล Rh. ของผู้ป่วย HN กับป้ายชื่อข้างขวดเลือดหรือส่วนประกอบ ของเลือดจากธนาคารเลือด (blood bank) โดยพยาบาล 2 คน
ตรวจสอบแผนการรักษา และเขียนชื่อนามสกุลของผู้ป่วย ชนิดของเลือดและส่วนประกอบของ เลือด Rh. วัน เวลาที่เริ่มให้อัตราการหยด ลงในแผ่นฉลากปิดข้างขวด
เครื่องใช้
intravenous fluid (IV fluid) ตามแผนการรักษา 2. intravenous catheter (IV cath.) เบอร์ 18 3. blood transfusion set (Blood set) 4. tourniquet 5. ส าลีชุบแอลกอฮอล์ 70% 6. extension tube 7. three ways 8. IV stand (เสาน้ าเกลือ) 9. พลาสเตอร์ หรือ transparent สำเร็จรูป 10. แผ่นฉลากชื่อ 11. ถุงมือสะอาด mask
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
การประเมินผลการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
การดูแลผู้ป่วยภายหลังได้รับเลือด
2) สังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดอย่างต่อเนื่อง
3) ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายตลอดระยะเวลาที่ให้เลือด
1) ตรวจสอบสัญญาณชีพหลังการให้เลือด 15 นาที และต่อไปทุก 4 ชั่วโมง
4) บันทึกหมู่เลือด ชนิดของเลือด หมายเลขเลือด ปริมาณเลือด วัน เวลา ชื่อผู้ให้ เลือด และบันทึกอาการของผู้ป่วยหลังให้เลือด ลงในแบบบันทึกการพยาบาล
การปฏิบัติเมื่อพบอาการแทรกซ้อนในผู้ป่วยที่ได้รับเลือด
4) เตรียมสารน้ำและยา
5) ส่งขวดเลือดและเจาะเลือดของผู้ป่วยจากแขนที่ไม่ได้ให้เลือดไปยังห้องปฏิบัติการเพื่อ ตรวจสอบ
3) ตรวจสอบสัญญาณชีพ และสังเกตสังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดอย่างใกล้ชิด
6) บันทึกจ านวนสารน้ำที่น าเข้า–ออกจากร่างกาย
2) รายงานแพทย์
7) การหยุดให้เลือด เมื่อผู้ป่วยได้รับเลือดครบให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับการหยุดให้สารน้ าทาง หลอดเลือดด า
1) หยุดให้เลือดทันทีแล้วเปิดทางหลอดเลือดด า (KVO) ด้วย NSS
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้้าในร่างกาย
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบที่รุนแรงขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
ภาวะหลอดเลือดดำอักเสบลดลง
อาการปวดบริเวณที่ให้สารน้ำลดลง โดยใช้แบบประเมินความปวด (Pain scale)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
6) ประเมินการขาดสารน้ำและอิเล็คโตรไลท์ โดยบันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกทุก เวร เพื่อให้ความช่วยเหลือและแก้ไขโดยเร็ว
7) ลดภาวะเครียดโดยให้ความช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
5) เปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
4) จัดมือซ้ายที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย โดยใช้หมอนรอง เพื่อลดอาการบวม
3) บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
2) ประเมินอาการบวมที่หลังมือซ้ายทุกเวร หากบวมมากขึ้น ผู้ป่วยมีไข้
1) หยุดให้สารน้ำทันที
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
2) ประเมินอาการหลอดเลือดดำอักเสบบริเวณหลังมือ (อาการบวมลดลง)
3) ปริมาณสารน้ำเข้าและออกมีความสมดุล
1) ประเมินอาการปวดของผู้ป่วย (โดยการสังเกตสีหน้าท่าทางของผู้ป่วย และจาก Pain scale) ผู้ป่วยสีหน้าสดชื่น ไม่บ่นปวดบริเวณหลังมือซ้าย
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ
เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
อุปกรณ์เครื่องใช้
ชุดให้สารน้ำ
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย
ขวดสารน้ำ
อุปกรณ์อื่น ๆ
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
การติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection) บวมแดง ร้อน
การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอก หลอดเลือดดำ
หลอดเลือดดำอักเสบ (Phlebitis) ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวม
การพยาบาล
5) จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย เพื่อลดอาการบวม
6) ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
4) รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
3) เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
2) ประคบด้วยความร้อนเปียก
1) หยุดให้สารน้ำ จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด
การติดเชื้อในกระแสเลือด
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป
การพยาบาล
1) หยุดให้สารน้ำ
2) เปลี่ยนขวดให้สารน้ำ
3) ให้การช่วยเหลือตามอาการ
4) วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต
5) เตรียมรถ Emergency ในการช่วยเหลือเร่งด่วน
6) รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
7) ส่งเลือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
8) ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
9) ดูแลให้ออกซิเจน
10) จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะต่ำกรณีความดันโลหิตต่ำ หรือจัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงกรณี ความดันโลหิตสูง
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ าที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ หารจำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/ นาที) = จำนวน Sol.(มล/ชม.) x จำนวนหยดต่อมล.) หารเวลา(นาที)
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป AB รับได้จากทุกกรุ๊ป แต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB
คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A และ O ให้ได้กับ A และ AB
คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O เท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B และ O ให้ได้กับ B และ AB
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
การถ่ายทอดโรค
ปฏิกิริยาภูมิแพ้
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป
เม็ดเลือดแดงสลายตัว
ไข้
การอุดตันจากฟองอากาศ
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ
การบันทึกปริมาณน้้าเข้า-ออกจากร่างกาย
หลักการบันทึกจำนวนสารน้้าที่เข้าและออกจากร่างกาย
3) ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
4) จดบันทึกจำนวนน้ าและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร พร้อมทั้ง อธิบายให้ผู้ป่วยดื่มน้ าในขวดที่เตรียมไว้ให้ ไม่นำน้ำที่เตรียมไว้ไปบ้วนปากหรือเททิ้ง
2) อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจ านวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจาก ร่างกาย
5) การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
1) แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย เพื่อสะดวกในการจดบันทึกและเมื่อครบ 24 ชั่วโมง ต้องสรุปลงในแผ่นรายงานประจำตัวของผู้ป่วยหรือฟอร์มปรอท
6) บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่น ๆ เช่น อาเจียน ท้องเดิน ของเหลวที่ระบายออกจากการ ใช้เครื่องดูดกับสายยางจากกระเพาะ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goal
วัตถุประสงค์ของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาบางชนิดที่ไม่สามารถดูดซึมทางระบบทางเดินอาหาร
รักษาสมดุลของกรด-ด่างในร่างกาย ในรายที่มีภาวะเสียสมดุลกรด–ด่าง
ให้สารน้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกายในรายที่ไม่สามารถรับประทานได้ทางปาก
ใช้เป็นช่องทางในการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำติดต่อกันเป็นเวลานาน
ให้สารน้ำทดแทนน้ำที่สูญเสียจากร่างกาย
แก้ไขความดันโลหิตโดยการให้สารละลายที่มีความเข้มข้นมากกว่าน้ำในร่างกาย
เกณฑ์การประเมิน
หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เครื่องใช้
intravenous catheter (IV cath.) เบอร์ 22/ 24
intravenous set (IV set)
intravenous fluid (IV fluid) ตามแผนการรักษา
tourniquet
ส าลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
extension tube
three ways
IV stand (เสาน้ำเกลือ)
พลาสเตอร์หรือพลาสเตอร์ใสสำเร็จรูป (transparent)
แผ่นฉลากชื่อ
ถุงมือสะอาด mask
วิธีท้าการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบรายชื่อนามสกุล เตียงผู้ป่วยให้ตรงกับป้ายข้อมือผู้ป่วย
บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้
ล้างมือให้สะอาด
ดึงแผ่นโลหะที่ปิดขวดสารน้ำหรือฝาครอบที่ปิดถุงน้ำพลาสติกออก
เช็ดจุกยางที่ขวดหรือถุงสารน้ำด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ต่อ IV set กับ IV fluid
ต่อ three ways กับ extension tube แล้วมาต่อกับ IV set
ปิด clamp ที่ IV set
แขวนขวด IV fluid เสาน้ าเกลือแขวนให้สูงประมาณ 1 เมตร (3 ฟุต) จากผู้ป่วย
บีบ chamber ของ IV set ให้ IV fluid ลงมาในกระเปาะประมาณ ½ ของกระเปาะ
การเตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงาน
ประเมินคุณภาพของการให้บริการ
การหยุดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
อุปกรณ์เครื่องใช้
2) พลาสเตอร์
3) ถุงมือชนิดใช้แล้วทิ้ง
1) สำลีปลอดเชื้อ หรือก๊อซปลอดเชื้อ
วิธีปฏิบัติ
1) ปิด clamp
2) แกะพลาสเตอร์ที่ปิดยึดหัวเข็ม และสายให้สรน้ำออกทีละชิ้น
3) สวมถุงมือเพื่อไม่ให้เลือดสัมผัสกับมือพยาบาล
4) ดึงเข็มที่ให้สารน้ำออกทางผิวหนังตามแนวที่แทงเข็มด้วยความนุ่มนวล
5) ใช้สำลีแห้งหรือก๊อซปลอดเชื้อกดทับที่ตำแหน่งที่ดึงเข็มออกหรือยึดติดด้วย พลาสเตอร์ และ ปิดไว้นาน 8 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการติดเชื้อจนกว่าเลือดจะหยุด
6) เก็บชุดให้สารน้ำและเข็มที่แทงให้เรียบร้อย
7) บันทึกในบันทึกทางการพยาบาลวัน เวลาและเหตุผลของการหยุดให้สารน้ำ