Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถานการณ์ที่ 1 เรื่อง บทบาทผดุงครรภ์ - Coggle Diagram
สถานการณ์ที่ 1
เรื่อง บทบาทผดุงครรภ์
ในสถานการณ์พยาบาลทำคลอดได้หรือไม่
พยาบาลสามารถทำคลอดได้ เนื่องจาก เป็นกรณีฉุกเฉิน
บทบาทของพยาบาลผดุงครรภ์ตามกฎหมาย
ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ช้ันหนึ่งจะทาการผดุงครรภ์ได้ แต่เฉพาะรายที่มีครรภ์ปกติ และคลอดอย่างปกติ ตลอดจนการพยาบาลมารดาและ ทารกในรายที่มีครรภ์ผิดปกติหรือคลอดผิดปกติ ถ้าไม่สามารถหาผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมทาการคลอดได้ ภายในเวลาอันสมควร และเห็นประจักษ์ว่า ถ้าละเลยไว้ จะเป็นอันตรายต่อมารดาหรือทารก ก็ให้ทาคลอดใน รายเช่นน้ันได้ แต่ห้ามมิให้ใช้คีมสูงหรือทาผ่าตัดในการทาคลอดหรือให้ยารัดมดลูกก่อนคลอดหรือใช้เครื่องดูด สุญญากาศในการทาคลอด ในรายที่รกค้างถ้าปล่อยทิ้งไว้จะเป็นอันตรายต่อมารดาให้ทาคลอดรกด้วยวิธีดึงรั้งสายสะดือ ถ้ารกไม่คลอดให้ส่งต่อทันที ในรายที่มีการตกเลือดหลังคลอด ถ้าปล่อยทิ้งไว้จะเป็นอันตรายต่อมารดาให้รักษาอาการตกเลือดเบื้องต้นตามความจำเป็น และส่งต่อทันที
จากสถานการณ์ ดังกล่าวเป็นตามบทบาทผดุงครรภ์หรือไม่เพราะเหตุใด
เป็นไปตามบทบาทผดุงคครรภ์ เนื่องจากมีถุงน้ำคร่ำเเตก และทารกกำลังคลอดออกมา เมื่อตรวจพบว่าเป็นท่าก้น
จึงสามารถทำคอดท่าก้นได้ในกรณีฉุกเฉิน
บทบาทของพยาบาลผดุงครรภ์ตามกฎหมาย
ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ช้ันหนึ่งจะทาการผดุงครรภ์ได้ แต่เฉพาะรายที่มีครรภ์ปกติ และคลอดอย่างปกติ ตลอดจนการพยาบาลมารดาและ ทารกในรายที่มีครรภ์ผิดปกติหรือคลอดผิดปกติ ถ้าไม่สามารถหาผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมทาการคลอดได้ ภายในเวลาอันสมควร และเห็นประจักษ์ว่า ถ้าละเลยไว้ จะเป็นอันตรายต่อมารดาหรือทารก ก็ให้ทาคลอดใน รายเช่นน้ันได้ แต่ห้ามมิให้ใช้คีมสูงหรือทาผ่าตัดในการทาคลอดหรือให้ยารัดมดลูกก่อนคลอดหรือใช้เครื่องดูด สุญญากาศในการทาคลอด ในรายที่รกค้างถ้าปล่อยทิ้งไว้จะเป็นอันตรายต่อมารดาให้ทาคลอดรกด้วยวิธีดึงรั้งสายสะดือ ถ้ารกไม่คลอดให้ส่งต่อทันที ในรายที่มีการตกเลือดหลังคลอด ถ้าปล่อยทิ้งไว้จะเป็นอันตรายต่อมารดาให้รักษาอาการตกเลือดเบื้องต้นตามความจำเป็น และส่งต่อทันที
ในการดูแลสตรีตั้งครรภ์ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด ระยะหลังบทบาทผดุงครรภ์สามารถทำอะไรได้บ้าง
การดูแลระยะตั้งครรภ์
ANC Standard 3: Abdominal Palpation
(การตรวจครรภ์)
พยาบาลผดุงครรภ์ต้องตรวจหน้าท้อง ประเมินอายุครรภ์ด้วยการดูและคลำหน้าท้อง ประเมินการ เจริญเติบโตของทารกในครรภ์ บอกแนวลำตัวของทารกในครรภ์ ส่วนนำการเคลื่อนต่่ำของทารก และมีการส่งต่ออย่างเหมาะสมหากตรวจพบความผิดปกติของส่วนนำ
ANC Standard 6: Preparation for Labor
(การเตรียมตัวสาหรับการคลอด)
พยาบาลผดุงครรภ์ต้องสามารถให้คำแนะนาสตรีตั้งครรภ์ สามี และครอบครัว ใน
ไตรมาส 3ของการตั้งครรภ์ได้ เพื่อวางแผนและเตรียมตัวก่อนคลอด เช่น การจัดสถานที่
สิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัยสาหรับการ เคลื่อนย้ายผู้คลอดในกรณีฉุกเฉิน
การดูแลระยะคลอด
IPC Standard 2: Safe Delivery
(การคลอดที่ปลอดภัย)
พยาบาลผดุงครรภ์ต้องสามารถทาคลอดทารกได้อย่างปลอดภัยและปราศจากเชื้อ โดยมีความ เหมาะสมกับวัฒนธรรมประเพณีของผู้คลอด
IPC Standard 3: Assisted Delivery of the Placenta and Membranes Using Controlled Cord Traction
(การช่วยคลอดรกและเยื่อหุ้มทารกโดยวิธี Controlled Cord Traction)
พยาบาลผดุงครรภ์ต้องทาคลอดรกด้วยวิธี Controlled Cord Traction ได้ถูกต้อง ซึ่งมีการใช้ oxytocin ร่วม
-
Standard 1: Care in Labor
(การดูแลในระยะคลอด)
พยาบาลผดุงครรภ์ต้องประเมินการเข้าสู่ระยะคลอดได้ถูกต้อง จัดเตรียมอุปกรณ์การดูแล
โดยคานึงถึงวัฒนธรรมประเพณีและเคารพความเป็นส่วนตัวของผู้คลอด
การดูแลระยะหลังคลอด
PPC Standard 1: Immediate Care of the Newborn
(การดูแลทารกแรกเกิดทันที)
พยาบาลผดุงครรภ์ต้องสามารถตรวจร่างกายและประเมินสภาพทารกแรกเกิดทันที เพื่อให้แน่ใจว่าไม่
มีปัญหาทางเดินหายใจ ป้องกันการขาดออกซิเจน ให้การช่วยเหลือและสามารถส่งต่อได้อย่างเหมาะสม ทั้งสามารถป้องกันและแก้ไขภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
PPC Standard 2: Immediate Management of First Two Hours Following Delivery
(การดูแลมารดาและทารกแรกเกิดในระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด)
พยาบาลผดุงครรภ์ต้องสามารถประเมินมารดาและทารก เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนได้ทันทีหลัง คลอด ทั้งส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดอย่างเหมาะสม และให้การช่วยเหลือมารดาในการเริ่มให้นมบุตรด้วยนมแม่
PPC Standard 3: Care of Mother and Baby in the Postnatal Period
(การดูมารดาและ ทารกแรกเกิดที่บ้าน)
พยาบาลผดุงครรภ์ต้องไปเยี่ยมบ้านและให้การดูแลได้เหมาะสมในช่วงภายหลังคลอด 42 วัน เพื่อส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารก ในการดูแลสายสะดือ จัดการภาวะแทรกซ้อนภายหลังคลอดหรือส่ง ต่อเมื่อจำเป็น รวมทั้งให้ความรู้และคำแนะนาเกี่ยวกับสุขภาพทั่วไป ความสะอาดของร่างกาย โภชนาการ การดูแลทารกแรกแรกเกิดถึง 1 ปี การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการวางแผนครอบครัว
หญิงตั้งครรภ์รายนี้สามารถใช้สิทธิบัตรทองในการรักษาได้หรือไม่
สามารถใช้สิทธิได้เมื่อมีสัญชาติไทยและเลขบัตรประชาชน 13หลัก ไม่จำกัดจำนวน และไม่เสียค่าใช้จ่าย
ซักประวัติเพิ่มเติม
ครั้งนี้เป็นการตั้งครรภ์ครั้งที่เท่าไร
มีการฝากครรภ์ตามเกณฑ์มั้ย
การภาวะ ซีด