Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารน้ำ
ทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทาง
หลอดเลือดดำส่วนปลาย
เป็นการให้ที่อยู่ในชั้นตื้นๆ
การให้สารน้ำทาง
หลอดเลือดดำใหญ่
ให้ทาง central line ทางหลอดเลือดดำใหญ่ๆ
การให้สารน้ำหรือสารละลายทาง
หลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์
ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลว
ทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนัง
ชนิดของสารน้ำที่
ให้ทางหลอดเลือดดำ
Isotonic solution
มี ออสโมลาริตี้ ระหว่าง
280-310 m0sm/L
Hypotonic solution
มี ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า
280 m0sm/L
Hypertonic solution
มี ออสโมลาริตี้ มากกว่า
310 m0sm/L
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ
อัตราการหยดของสารน้ำ
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
ความหนืดของสารน้ำ
ขนาดของเข็ม
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
สายให้สารน้ำ
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
การเคลื่อนย้าย
การปรับอัตราหยด
การคำนวณอัตราการหยด
ของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สูตรการคำนวณสารน้ำ
ที่จะใช้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ หาร
จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
สูตรการคำนวณอัตรา
ของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวน Sol. คูณ จำนวนหยดต่อ มล.
หาร เวลา(นาที)
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่งของ
หลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้าง
ที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
ให้เริ่มแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่
หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทง
ว่ามีสภาพที่เหมาะสม
หลีกเลี่ยงแทงบริเวรข้อพับ
อุปกรณ์ที่ใช้
ขวดสารน้ำ
ชุดใส่สารน้ำ
เข็มที่ใช้แทง
เบอร์ 14,16,18,20,22,24
Butterfly or Scalp vein
Tourniquet
อาการแทรกซ้อนจากการ
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
หลอดเลือดดำอักเสบ
(Phlebitis)
อาการแสดง
ผิวหนังบริเวณที่
แทงเข็มบวม
ระดับการอักเสบ
Grade 0 =ไม่มีอาการ
Grade 1 =มีอาการปวด
Grade 2=ผิวหนังบวม
Grade 3=ผิวหนังบวมแดงเป็นทาง
Grade 4=มีหนอง
การใช้กระบวนการพยาบาลในการ
ให้สารน้ำทางหลอดเลือด
ขั้นตอนที่ 1
การประเมินสภาพผู้ป่วย
ระดับความรู้สึกตัว
ความพร้อมในการรับบริการ
ความวิตกกังวลและความกลัว
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อม
บรรยากาศในหอผู้ป่วย
ตรวจสอบแผนการรักษา
ตรวจสอบชนิดของยาและปริมาณ
ขั้นตอนที่ 2
ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมที่จะเริ่มให้สารน้ำ
ทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 3
การวางแผนในการ
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ใช้หลักการ 6 Right
และหลักความปลอดภัย SIMPLE
ของ patient safety goal
ขั้นตอนที่ 4
การให้สารน้ำทาง
หลอดเลือดดำ
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา
บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้
2.เตรียมเครื่องมือที่ใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย
ล้างมือให้สะอาด
5 ดึงแผ่นโลหะที่ปิดขวดสารน้ำ
เช็ดจุกยางที่ขวด
ต่อ IV set
8 ต่อ three ways
ปิด clamp ที่ IV set
แขวนขวด IV fluid ที่เสาน้ำเกลือ
ขั้นตอนที่ 5
การประเมินผล
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึ่งประสงค์
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจผู้ป่วย
การให้สารอาหาร
ทางหลอดเลือดดำ
ข้อบ่งชี้ในการให้สาร
อาหารทางหลอดเลือดดำ
โรคทางเดินอาหาร
อุจจาระร่วงเรื้อรัง
อักเสบจากการฉายรังสี
โรคของอวัยวะต่างๆ
ภาวะไตวาย
โรคหัวใจแต่กำเนิด
ภาวะทางศัลยกรรม
ถูกน้ำร้อนลวก
ภายหลังการผ่าตัด
ความผิดปกติของจิตใจ
Anorexia nervosa
โรคมะเร็งต่างๆ
มะเร็งกระเพาะอาหาร
ส่วนประกอบของ
สารอาหารในสารละลาย
คาร์โบไฮเดรต นิยมใช้ในรูปกลูโคส
สารละลายไขมัน
โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน
วิตามิน
เกลือแร่
น้ำให้คำนวณจำนวนน้ำที่จะให้แก่
ผู้ป่วยตามน้ำหนักตัว
ชนิดของสารอาหาร
ทางหลอดเลือดดำ
TPN ทานทางสายอย่างเดียว
ตำแหน่งของการให้สาร
อาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง
(Peripheral vein)
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่
(Central vein)
ภาวะแทรกซ้อน
จากการให้เลือด
เม็ดเลือดแดงสลายตัว
(Hemolysis)
ปริมาตรการไหลเวียน
ของเลือดมากเกินไป
(Volume overload)
ไข้
(Febrile transfusion reaction)
ปฏิกิริยาภูมิแพ้
(Allergic reaction)
การถ่ายทอดโรค
(Transfustion-associated
graft versus host disease)
การอุดตันจากฟองอากาศ
(Air embolism)
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ
(Hyperkalemia)
การดูแลภายหลังได้รับเลือด
การตรวจสัญญาณชีพหลัก
การให้เลือด 15 นาที และต่อไปทุก 4 ชั่วโมง
สังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดอย่างต่อเนื่อง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายตลอดระยะเวลาที่ให้เลือด
บันทึกหมู่เลือด ชนิดของเลือด หมายเลขเลือด ปริมาณเลือด วันเวลาชื่อผู้ให้เลือด และ บันทึกอาการของผู้ป่วยหลังให้เลือดลงในแบบบันทึกการพยาบาล