Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
เป็นการให้ สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้น ๆ ของผิวหนังหรือหลอดเลือดดำที่อยู่ในส่วนปลายของ แขนและขา
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำใหญ่
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central line ทางหลอดเลือดดำใหญ่ ๆ ซึ่งจะให้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถ รับประทานอาหารทางปาก หรือรับประทานอาหารทางปากได้ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การให้สารน้้าและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลว ทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนัง โดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่ เช่น Subclavian vein, Right & Left Nominate veins
อัตราการคำนวนสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สูตรคำนวนอัตราหยดสารน้ำใน1นาที
จำนวนSol x จำนวนหยดต่อมล/เวลา(นาที)
สูตรคำนวนสารน้ำที่จะให้ใน1ชั่วโมง
ปริมาณสารน้ำที่จะให้/จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
ชนิดของสารน้้าที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไอโซโทนิก
มีออสโมลาริตี้ระหว่าง 280-310 m0sm/l ให้เมื่อช็อคจากการเสียเลือด
สารละลายไฮโปโทนิก
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 m0sm/l ให้ในกรณีขาดน้ำCellมีรูปร่างเต่ง
สารละลายไฮเปอร์โทนิก
่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า 310 m0sm/l ใช้เมื่อสมองบวมหลีกเลี่ยงให้ผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจ โรคไต
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้้า
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
ความหนืดของสารน้ำ ถ้าสารน้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
สายให้สารน้ำมีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่
การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอกหลอดเลือดดำ
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
การติดเชื้อเฉพาะที่ บวมแดง ร้อน บริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำอาจจะมีหนองบริเวณที่แทงเข็ม
หลอดเลือดดำอักเสบ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ
การติดเชื้อในกระแสเลือด มีไข้สูง หนาวสั่น ความดันโลหิตลดลง คลื่นไส้ อาเจียน บางครั้งมีอาการถ่ายเหลว มีการติดเชื้อเฉพาะที่เกิดร่วมด้วย
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด (Air embolism) เกิดจากการไล่ฟองอากาศในชุดสายให้สารน้ำไม่หมด
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป
เกิดจากอัตราการหยดของสารน้ำเร็วเกินไปโดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคหัวใจ อาจเกิดอาการหัวใจวาย
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
วางแผนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำโดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goal
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการบริหารยา
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
วิธีการฉีดยาแบบที่ 1 IV plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 6 three ways กบั syringe IV push
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ าทางปากไม่ได้หรือรับประทานได้น้อยไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ทดแทนน้้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition (TPN)
เป็นการให้โภชนบำบัดครบตามความต้องการของผู้ป่วยทั้งปริมาณพลังงานที่ต้องการและสารอาหารทุกหมู่
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
เป็นการให้โภชนบำบัดทางหลอดเลือดดำเพียงบางส่วน อาจได้พลังงานไม่ครบตามความต้องการ หรือได้สารอาหารไม่ครบทุกหมู่
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง ข้อดีของการให้วิธีนี้คือไม่ยุ่งยากสามารถให้แก่ผู้ป่วยได้ทันที
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ สามารถเพิ่มความเข้มข้นของน้ำตาลกลูโคสได้ ถึงร้อยละ 20-25 เหมาะส าหรับผู้ป่วยที่จ าเป็นต้องได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นเวลานานและต้องการพลังงานค่อนข้างสูงเป็นการทำหัตถการโดยแพทย์
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง
ลักษณะที่พบ
บวมบริเวณที่ให้
ผู้ป่วยรู้สึกไม่สุขสบายบริเวณที่ให้
การพยาบาลและการป้องกัน
ถ้าพบว่ามีสารอาหารซึมออกมาอยู่ในเนื้อเยื่อควรหยุดให้สารอาหารทันที
ควรดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันการเกิดสารอาหารซึมออกมาอยู่ในเนื้อเยื่อส่วนมาก ภาวะนี้มักเกิดจากการเลือกตำแหน่งที่แทงเข็มไม่เหมาะสม
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
ที่พบบ่อยจะเป็นก้อนเลือดและอากาศ
การให้สารอาหารมากเกินไป
ลักษณะที่พบได้แก่
ปวดศีรษะ หายใจตื้น และหอบเหนื่อย
ตรวจพบความดันเลือดและแรงดันหลอดเลือดส่วนกลางสูงขึ้น ชีพจรเร็ว
มีการคั่งของเลือดดำจะพบว่าหลอดเลือดดำที่คอโป่ง
การหยุดให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
เมื่อไม่มีความจำเป็นที่จะให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำให้งด ในขณะเดียวกันก็เพิ่มอาหารที่ให้ ทางปาก เมื่อความเข้มข้นของกลูโคสในสารละลายลดลงเหลือร้อยละ 5 ก็อาจจะยกเลิกการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำในวันรุ่งขึ้น ทั้งนี้อาจจะใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 5-7 วัน
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้เลือด หมายถึง การให้เลือด หรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือเฉพาะน้ำเลือด แก่ผู้ป่วยโดยผ่านเข้าทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
เม็ดเลือดแดงสลายตัว
เกิดจากการให้เลือดผิดหมู่ เม็ดเลือดแดงจะแตกและ บางส่วนไปอุดตันหลอดเลือดฝอยของท่อไตท าให้ไตวาย อาจเกิดอาการหลังให้เลือดไปแล้วประมาณ 50 มล. หรือน้อยกว่า จะพบว่าผู้ป่วยมีอาการหนาวสั่น มีไข้ปวดศีรษะ ปวดหลังบริเวณเอว กระสับกระส่าย
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป
เกิดจากการให้เลือดใน อัตราเร็วเกินไป จึงเพิ่มปริมาตรการไหลเวียนในกระแสเลือด ส่งผลให้หัวใจทำงานหนักขึ้น เกิดภาวะหัวใจวาย
ไข้
เกิดจากการได้รับสารที่ทำให้เกิดไข้ เชื้อแบคทีเรียจากเครื่องใช้หรือเทคนิคการให้เลือดที่ไม่สะอาด นอกจากนี้อาจเกิดจากปฏิกิริยาต่อเม็ดเลือดขาว เกล็ดเลือดหรือโปรตีนในเลือดของผู้ให้
ปฏิกิริยาภูมิแพ้
เกิดจากผู้รับแพ้สารอย่างใดอย่างหนึ่งในเลือดที่ได้รับ
การถ่ายทอดโรค
การอุดตันจากฟองอากาศ
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
เกิดจากการให้เลือดติดต่อกันเป็นจ านวนมากจึงมีการสะสมของสารกัน การแข็งตัวของเลือด
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกต
เกิดจากการให้เลือดที่เก็บไว้ในธนาคารเลือดนานเกินไปหลังจากที่ผู้ป่วยได้เลือดจะพบอาการคลื่นไส้อาเจียน ท้องเดิน กล้ามเนื้ออ่อนแรง
การบันทึกปริมาณน้้าเข้า-ออกจากร่างกาย
หลักการบันทึกจำนวนสารน้้าที่เข้าและออกจากร่างกาย
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจำนวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจาก ร่างกาย
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
จดบันทึกจำนวนน้ าและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่น ๆ เช่น อาเจียน ท้องเดิน ของเหลวที่ระบายออกจากการ ใช้เครื่องดูดกับสายยางจากกระเพาะ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้้าในร่างกาย
การประเมินภาวะสุขภาพ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาลวัตถุประสงค์ไม่เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบที่รุนแรงขึ้น
การปฏิบัติการพยาบาล
หยุดให้สารน้ำทันที
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
ประเมินการขาดสารน้ำและอิเล็คโตรไลท์ โดยบันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกทุกเวรเพื่อให้ความช่วยเหลือและแก้ไขโดยเร็ว
การประเมินผลการพยาบาล
ประเมินอาการปวดของผู้ป่วย
ประเมินอาการหลอดเลือดดำอักเสบบริเวณหลังมือ
ปริมาณสารน้ำเข้าและออกมีความสมดุล
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
การดูแลผู้ป่วยภายหลังได้รับเลือด
ตรวจสอบสัญญาณชีพหลังการให้เลือด 15 นาที และต่อไปทุก 4 ชั่วโมง
สังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดอย่างต่อเนื่อง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายตลอดระยะเวลาที่ให้เลือด
บันทึกหมู่เลือดชนิดของเลือดหมายเลขเลือดปริมาณเลือด วัน เวลา ชื่อผู้ให้เลือด