Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ส่วนโครงสร้างรับแรงดัด - Coggle Diagram
บทที่ 4 ส่วนโครงสร้างรับแรงดัด
การโก่งหรือแอ่นตัวในดิ่ง (Vertical Deflection)
การยึดปลายคานให้อยู่ในตำแหน่ง
การยึดตรึงส่วนที่รับแรงอัดของคาน (h/b = 5)
การค้ำยันทางข้างโดยยึดทแยงไขว้ (h/b = 6)
การคำยันข้างคานเป็นช่วงๆ (h/b = 6)
การค้ำยันทางข้างโดยยึดทแยงไขว้และยึดตรึงส่วนบนและส่วนของคาน (h/b = 7)
ความต้านทานต่อแรงดัด (Flexural Resistance)
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อกำลังต้านทานแรงดัด
อัตราส่วนระหว่างความลึกต่อความหนาของคาน
รููปร่างหน้าตัดของส่วนโครงสร้าง
ความลึก
ค่าหน่วยแรงดัดที่เกิดขึ้น (fb) = Mc/I = M/s = 6M/bh^2
ความต้านแรงเฉือน (Shearing Resistance)
หน่วยแรงเฉือนในแนวนอนที่เกิดขึ้น (fh) =VQ/Ib
Q = โมเมนต์รอบแกนสะทินของเนื้อที่จากขอบหน้าตัดถึงแนวที่ต้องการหา
I = โมเมนต์อึนเนอร์เชียรอบจุดสะเทินของรูปตัด
V = แรงเฉือนมากที่สุดในแนวตั้ง ที่เกิดจากน้ำหนักบรรทุกใช้งาน
b = ความหนาของรูปตัด
ความต้านทานต่อแรงกด (Bearing Resistance)
หน่วยแรงกดตั้งฉากเสี้ยนที่เกิดขึ้น fc(ตั้งฉาก) = P/A <, = Fc (ตั้งฉาก)
การโก่งหรือแอ่นตัวในแนวดิ่ง (Vertical Deflection)
สำหรับคานสะพานทางหลวง
สำหรับสะพานรถไฟ
สำหรับคานทั่วไป
โมเมนต์บิด (torsion)
คานรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ft = 1.953T(3a+1.8b/a^2b^2
คานรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส = 75T/s^3
การออกแบบคานประกอบ (Built up Beam)
การซ้อนขึ้นในแนวตั้ง
การเรียงชิดกันตามแนวนอน
Flitched Beam
การเจาะบากหรือหยักคาน (Notch Beam)
การบากปลายคานที่รับแรงดึง
การบากปลายคานที่รับแรงอัด