Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วย, ปาริฉัตร…
ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วย
:star:
แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของในการสร้างเสริม
สุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วย
ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
ในปี ค.ศ. 1975 เพนเดอร์(Pender) ได้พัฒนาแบบจําลองการป้องกันสุขภาพที่กล่าวถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการ ตัดสินใจและการปฏิบัติของปัจเจกบุคคลในการป้องกันโรค
ลักษณะและประสบการณ์ของบุคคล (Individual Characteristics and Experiences)
ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม (Behavior-Specific Cognition and Affect)
พฤติกรรมผลลัพธ์ (Behavioral Outcome)
:star:
ทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรค (Protection motivation theory)
ทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรค มีขึ้นครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2518 โดยโรเจอร์ (Roger R.W. 1975) และไดรับการปรับปรุงแก้ไขนํามาใช้ใหม่ในอีกครั้งในปี พ.ศ. 2526 (Dunn and Rogers 1986) โดยทฤษฎีนี้เกิดขึ้นจากความพยายามที่จะทําความเข้าใจในกฎเกณฑ์ของการกระตุ้นให้เกิดความ กลัว โดยเน้นเกี่ยวกับการประเมินการรับรู้ด้นข้อมูลข่าวสารที่เป็นความรู้ หรือประสบการณ์ทางสุขภาพ และ การให้ความสําคัญกับสิ่งที่มาคุกคาม และขบวนการของบุคคลเพื่อใช้ขบคิดแก้ปัญหาในสิ่งที่กําลัง คุกคามอยู่นั้น
:star:
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model)
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพให้แนวคิดว่า พฤติกรรมจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลเห็นคุณค่าของเป้าหมายของการกระทํา และเห็นว่าพฤติกรรมนั้นๆ จะทําให้บรรลุตามเป้าหมายได้
องค์ประกอบของแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
1.การรับรู้ของบุคคล (Individual perception)
2.ปัจจัยร่วม (Modifying factor)
3.แนวโน้มของการปฏิบัติพฤติกรรม (Likelihood of action)
4.ตัวชี้แนะการแนะนํา (Cues to action)
:star:
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม (Social Support Theory )
1. แรงสนับสนุนทางด้านสังคม
หมายถึง สิ่งที่ผู้รับได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมในด้านความ ช่วยเหลือทางด้านข้อมูล ข่าวสาร วัตถุสิ่งของ หรือการสนับสนุนทางด้านจิตใจจากผู้ให้การ สนับสนุน ซึ่งอาจเป็นบุคคลหรือกลุ่มคน
2. แหล่งของแรงสนับสนุนทางสังคม
โดยปกติกลุ่มสังคมจัดแบ่งออกเป็นประเภท ใหญ่ๆได้ 2 ประเภท คือ กลุ่มปฐมภูมิและกลุ่มทุติยภูม
3. องค์ประกอบของการสนับสนุนทางสังคม
หลักการที่สําคัญของแรง สนับสนุนทางสังคม ประกอบด้วย
ต้องมีการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ให้และผู้รับแรงสนับสนุน
ลักษณะของการติดต่อสัมพันธ์นั้น
4. ประเภทของแรงสนับสนุนทางสังคม
Emotional Support
Appraisal Support
InformationSupport
Instrumental Support
5. ระดับของแรงสนับสนุนทางสังคม
1.ระดับกว้าง (Macro level)
2.ระดับกลุ่มเครือข่าย (Mezzo level)
3.ระดับแคบ หรือระดับลึก (Micro level)
6.ผลของแรงสนับสนุนทางสังคมที่มีต่อสุขภาพ
ผลต่อสุขภาพกาย
ผลต่อสุขภาพจิตผลของแรงสนับสนุนทางสังคมที่มีต่อสุขภาพจิต
:star:
รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างเสริมสุขภาพ
การส่งเสริมสุขภาพ เป็นทั้งกระบวนการกิจกรรม และแนวทาง สําหรับการดําเนินงาน เกี่ยวกับ สุขภาพ เพื่อส่งเสริม และเกื้อหนุนให้บุคคล ได้พัฒนาศักยภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนในทุกด้าน แบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ
ปาริฉัตร กลับกลาง 621201136