Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบบริหารคุณภาพ ทางการพยาบาล - Coggle Diagram
ระบบบริหารคุณภาพ
ทางการพยาบาล
วิชาชีพพยาบาล
อาชีพที่มีลักษณะ ครบทั้ง 6 ประการ
(สุพรรณ์ ว่องรักษ์สัตว์, 2559)
ได้รับการศึกษา ให้ความรู้ในศาสตร์แห่งวิชาชีพนั้น โดยใช้ระยะเวลา
ครบถ้วนตามหลักสูตร
มีอิสระในการให้บริการแก่สังคม
เป็นวิธีการแห่งปัญญาในการประกอบอาชีพ
มีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
มีองค์กรวิชาชีพถูกต้องตามกฎหมาย
เป็นบริการที'จำเป็นของสังคม
เป้าหมายที่แท้จริงของวิชาชีพการพยาบาล
(สุพรรณ์ ว่องรักษ์สัตว์, 2559)
การกระทำสิ่งที่ดีก่อให้เกิดความสุข
ใช้ปัญญา เหตุผล (มองโลกในแง่ดี)
การช่วยเหลือเกื้อกูลมนุษย์ด้วยคุณธรรม
องค์กรพยบาล
ผู้บริหารสูงสุด:หัวหน้าพยาบาลใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพการพยาบาลที่ไม่หมดอายุ
ชื่อองค์กร : กลุ่มการพยาบาล กลุ่มงานการพยาบาล ฝ่ายการพยาบาล งานบริการพยาบาล กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล
ประกอบด้วย :พยาบาลวิชาชีพทุกระดับ บุคลากร
ทางการพยาบาลและบุคลากรอื่นๆภายใต้การกำกับดูแลของผู้บริหารทางการพยาบาลระดับสูงสุด
มีความรู้ ความสามารถ ในการบริหารการพยาบาลให้บรรลุพันธกิจและนโยบาย
ที่กำหนดและเป็นกรรมการบริหารโรงพยาบาล
เป็นตัวแทนวิชาชีพการพยาบาลใน รพ.
รับผิดชอบกำหนดนโยบายและวิธีปฏิบัติงาน เพื่อธำรงไว้ซึ่งมาตรฐานและ
จรรยาบรรณวิชาชีพ
เป็นที่ปรึกษาและให้ข้อเสนอแนะด้านการพยาบาลแก่ผู้บริหารสูงสุดของ
โรงพยาบาล/ คณะกรรมการบริหาร
กำหนดขอบเขตการบริหารบริการพยาบาล ในความรับผิดชอบ/บริบทหน่วยงาน : OPD ,ER, OR, ANAS, IPD, ICU,
OBS, IC, CSS, Counselling
กำหนดขอบเขตบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนบริการพยาบาล
กำหนดนโยบาย/ ทิศทางการจัดบริการพยาบาล/ แผนพฒันาคุณภาพการ
พยาบาล
การจัดการและพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล
การจัดการทรัพยากร: อุปกรณ์ เครื่องมือ สถานที่ งบประมาณ
บริหารจัดการต้นทุน ด้านการพยาบาล
ติดตาม กำกับและประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการพยาบาล
จัดการความปลอดภัย
วิจัยและพัฒนาวิชาการพยาบาล
สนับสนุนการทำงานร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ
สร้างการมีส่วนร่วมกับองค์กรในชุมชนและสังคม
ค่านิยม สะท้อนคุณค่าการให้บริการพยาบาลที่สำคัญ
Customer center คนไข้เป็นศูนย์กลาง
Excellence & Safety บริการเป็นเลิศ เหนือความคาดหวัง เช่น ฉีดยาเจ็บน้อย การให้ยาปลอดภัย
Autonomy (อิสระทางวิชาชีพ)
Teamwork การทำงานเป็นทีม
Integrity(คุณธรรม&จริยธรรม)
Leaning Organization เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ เช่น ทำงานคุณภาพเพื่อมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันแต่ละ วอร์ด
ความคาดหวังของผู้รับบริการ
สามารถเข้าถึงได้ : access
ถูกต้องเหมาะสม : appropriate
ทันการณ์ : timeliness
ใส่ใจทุกความต้องการ : responsive
คุ้มค่า : efficiency
ดูแลด้วยหัวใจ : humanized/ care by heart
ปลอดภัย ไม่มีของแถม : safety
เท่าเทียม : equity
มิติคุณภาพ
บริการทีมีคุณภาพในทุกมิติ
Appropriate เหมาะสม
Humanize ด้วยหัวใจ มีเมตตากรุณา
Efficient คุ้มค่า
Accept/Responsive ยอมรับ / ตอบสนอง พึงพอใจ
Timeliness เวลาเหมาะสม
Access เข้าถึง
Competency สมรรถนะ หรือความสามารถ
Continuityความต่อเนื่อง
Effective มีดี มีประสิทธิภาพ
Coverage ความคุ้มครอง ทั่วถึง
Safety ความปลอดภัย
Equity เป็นธรรม
คุณภาพบริการสาธารณสุข
คุณลักษณะ มีองค์ความรู้ทั้งด้าน มนุษย์ สังคม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและด้านอืนๆและพื้นฐานด้านคุณธรรมและจริยธรรม แห่งวิชาชีพ ตอบสนองความต้องการและความคาดหวัง ของประชาชนและสังคมได้อย่างเหมาะสม
เป้าหมายการดูแลผู้ป่วย
ดูคุ้ม
Efficiency ความมีประสิทธิภาพ
ดูคน
Coverage ความคุ้มครอง ทั่วถึง
Acceptability ยอมรับ
Equity เป็นธรรม
Equity เป็นธรรม
Access เข้าถึง
People centeredness คนเป็นศูนย์กลาง
Responsiveness พึ่งพอใจ
ดูไข้
Continuity ความต่อเนื่อง
Effectiveness มีดี มีประสิทธิภาพ
Appropriteness เหมาะสม
Clinical Effectivenss ประสิทธิผลทางคลินิก
Safety ความปลอดภัย
Timeliness เวลาเหมาะสม
มิติคุณภาพ
มาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล
3.มาตรฐานบริการการพยาบาลและผดุงครรภ์ระดับทุติและตติยภูมิ : 2548
กระบวนการพยาบาล
มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการ สุขภาพ ฉบับฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี : 2549
การพยาบาลแบบองค์รวม
1.เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ PMQA : 2550
ระบบบริหารคุณภาพ
ระบบบริหารงานคณุภาพเกี่ยวข้องกับผู้ผลิตและผู้บริโภค ผลิตสินค้าหรือบริการได้ตรงตามเกณฑ์มาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า ช่วยให้ลูกค้าได้รับความพอใจและมั่นใจว่า สนิทหรือบริการที่ได้รับมีคุณภาพภาพตรงตาม
ความต้องการ
ระบบบริหารคุณภาพ (Quality Management System) หรือ QMSเป็นระบบการบริหารจัดการโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ให้การดำเนินงานตามภารกิจและวัตถุประสงค์ขององค์กร เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนRือง มีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล
กระบวนการบริหารคุณภาพ
เริ่มต้นจากการนำปัจจัยนำเข้า(Input) คือความต้องการของลูกค้า (Customer
Requirement) ผ่านกระบวนการบริหารคุณภาพ (QMS) ประกอบดว้ ย
การจัดการทรัพยากร(Resource Management)
กระบวนการที่ก่อให้เป็นผลิตภัณฑ์ (Product Realization)
ความรับผิดชอบด้านการบริหาร (Management Responsibility)
การวัดวิเคราะห์ การปรับปรุง (Measurement Analysis Improvement)
สรุป : กระบวนการบริหารคุณภาพจะเป็นการกระทำที่เกิดขึ้นซ้ำๆ ก่อให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง(Continuous Improvement) ซึ่งจะทำให้ลูกค้าสามารถมั่นใจได้ว่าผลลัพธ์ (Output) คือสินค้า หรือบริการ (Product) ที่มีรูปแบบตามมาตรฐานตามที่กำหนดไว้ ซึ่งจะมีผลต่อการสร้างความพอใจให้กับ
ลูกค้า (Customer Satisfaction)
ระบบบริหารคุณภาพมีหลายระบบ
TQM: Total Quality Management
หัวใจ
การมุ่งเน้นที่การสร้างความพึงพอใจตามที่ลูกค้าต้องการ : วิจัย / สำรวจ
การปรับปรุงกระบวนการ : รับวัตถุดิบ จนสินค้า / บริการถึงมือลูกค้า
พนักงานทุกคนในองค์กรจะต้องมีส่วนร่วม : ผู้ปฏิบัติรู้ปัญหา สามารถปรับปรุงแก้ไขได้ดีที่สุด
การประสมประสานกิจกรรม : คุณภาพจะต้องสะท้อนทุกกิจกรรมขององค์กร
การวัดผลที่ถูกต้อง
ความหมาย :
การจัดระบบและวินัยในการทำงาน เพื่อป้องกันความผิดพลาดเสียหาย และมุ่งสร้างคุณค่าในกระบวนการทำงาน มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา โดยทุกระดับในองค์กกรต้องมีส่วนร่วม
หลักสำคัญ TQM
ปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง
ทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วม
มุ่งเน้นคุณภาพ
เสาหลัก TQM
สามารถทำงานข้ามสายงานได้เป็นอย่างดี (สามารถทำงานแทนกันได้)
กระจายนโยบายให้เป็นผลต่อองค์กร
ปฏิบัติงานประจำวันให้ดีทีสุด
แนวทางและขั้นตอนในการนำ TQM
1.การสำรวจหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่ในการให้บริการแก่ประชาชน
2.การค้นหาจุดบกพร่องที่ควรแก้ไข
3.การวางแผนการปรับปรุงการปฏิบัติงาน
4.การสร้างการยอมรับให้เกิดขึ้นในวัฒนธรรมองค์กร
5.การนำ TQM ไปปฏิบัติในหน่วยงานบริการภาครัฐ
6.การติดตามและประเมินผล
ISO : International Organization for Standardization
มาตรฐาน ISO ที่สำคัญในไทย
มาตรฐาน ISO 17025 : มาตรฐานการประเมินความสามารถทางวิชาการของห้องปฏิบัติการ
มาตรฐาน ISO 18000 : มาตรฐานการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
มาตรฐาน ISO 14000 : มาตรฐานการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ISO 22000 : มาตรฐานการจัดการความปลอดภัยของอาหาร
มาตรฐาน ISO 9000 : มาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ
6.ทำให้การบริการด้านสุขภาพเป็นมาตรฐานสากล
5.ทำให้ผู้รับบริการเชื่อมั่นและพึงพอใจ
มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพราะมีการตรวจสอบเป็นระยะ
สามารถควบคุมกระบวนการได้ตั้งแต่ต้นจนจบ
ระบบ ISO 9000 มีหลีกว่าเขียนในสิ่งที่ทำและทำในสิ่งที่เขียน
1.เป็นวิธีการเชิงป้องกันไม่ใช่แก้ไข้ปัญหา
ISO ใช้วัดคุณภาพ ทั้งด้าน
การจัดจำหน่าย
มืออาชีพ การสำรวจ ออกแบบ ฝึกอบรม และที่ปรึกษา
สาธารณูปโภคต่างๆ
บริหารบุคลากรและบริการในสำนักงาน
ซ่อมบำรุง
9.วิทยาศาสตร์ การวิจัยและพัฒนา
สาธารณสุข โรงพยาบาล คลินิก
กลุ่มคมนาคม สนามบิน และการสื่อสาร
1.โรงแรม ภัตตาคารและการท่องเที่ยว
IPOO : Input-Process-Output-Outcome
JCI : Joint Commission International
มาตรฐาน JCI ที่ต้องรับการตรวจประเมิน 2 หมวดหลัก
มาตรที่เน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
เป้าหมายความปลอดภัยผู้ป่ วยสากล (IPSG)
การเข้าถึงการดูแลและความต่อเนืiองของการ
ดูแล (ACC)
สิทธิผู้ป่ วยและครอบครัว (PFR)
การจดั การด้านยาและการใช้ยา (MMU)
การดูแลด้านวิสัญญีและศัลยกรรม (ASC)
การดูแลผู้ป่ วย (COP)
การให้ความรู้แก่ผู้ป่ วยและครอบครัว (PFE)
การประเมินผู้ป่ วย (AOP)
มาตรฐานการจัดการสถานพยาบาล ประกอบด้วย :
การพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยผู้ป่วย (QPS)
การป้องกันและควบคุมการติดเชืjอ (PCI)
การกำกับดูแลกิจการ การนำ และทิศทางองค์กร (GLD)
การจัดการและความปลอดภัยในอาคารสถานที่ (FMS)
คุณสมบัติและการฝึกอบรมของบุคลากร (SQE)
การจัดการสารสนเทศ (MOI)
สถานพยาบาลที'ผ่านมาตรฐาน JCI จะต้องมีแนวทางการปฏิบัติ อย่างเคร่งครัด ต่อไปนี
ผู้ป่วยจะได้รับการดูแลและเฝ้าระวังหากมีการใช้ยาที่ต้องระมัดระวังสูง
ผ้ปู ่วยได้รับผ่าตัดที่ถูกตำแหน่ง ถูกหัตถการ ถูกคน
บุคลากร ในทีมดูแลผู้ป่วยจะต้องมีการสื่ออสารระหว่างกันที่ชัดเจนและมี ประสิทธิภาพ
ผู้ป่วยจะปลอดภัยจากการติดเชื่อในโรงพยาบาล โดยมุ่งเน้นให้บุคลากรในทีมดูแลผู้ป่วย ญาติ
และผู้ที่มาเยี่ยมผู้ป่วยล้างมืออย่างถูกต้องเพื่อป้องกันการนำเชื้อโรคไปสู่ผู้ป่วย
ระบตุ วั ผู้ป่ วยถูกต้อง (ถูกคน)
ผู้ป่วยจะได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มและได้รับการเฝ้า ระวังในทุกจุด
บริการ เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดภยันตรายของผู้ป่วยจากภาวะพลัดตกหกล้มในโรงพยาบาล
JCI : Joint Commission International
เป็นสถาบันของสหรัฐอเมริกาที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล
เป็นองค์กรอิสระที่ไม่หวังผลกำไร ดำเนินงานมานานกว่า 75 ปี
มาตรฐาน JCI : อยใู่นการกำกับดูแลของ The Joint Commission
มีวัตถุประสงค์เพื่อ : ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ และความปปลอดภัยในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วยให้กับสถานพยาบาลต่างๆ ทั่วโลกอย่างต่อเนื่อง ด้วยการตรวจประเมินอย่างละเอียดถี่ถ้วน ตลอดจนให้การรับรองมาตรฐานคุณภาพแก่สถานพยาบาลที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามข้อกำหนด
HA : Hospital Accreditation
การับรองคณุภาพโรงพยาบาล
กลไกประเ มินเพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาระบบงานภายในของโรงพยาบาลโดยมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบและพัฒนาทั้งองค์กร ทำให้องค์กรเกิดการเรียนรู้มีการประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนือง (ฉบับที่ 4 มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ เริ่มใช้เพื่อการรับรอง HA ตั้งแต่ 1 ก.ค.25561 )
หัวใจของ HA เพื่อมุ่งสู่ รพ.ในฝัน
2.ทำงานเป็นทีม
3.ประเมินและทบทวนตรวจสอบตนเองอย่างสม่ำเสมอ
1.เน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
หัวใจของการพัฒนาตามกระบวนการ HA
พื่นที่การพัฒนา 4 วง เพื่อความครอบคลุม
3C PDSA รู้คิด รู้ทำ เพื่อความลุ่มลึก ตรงประเด็นต่อเนื่อง
บันได 3 ขั้น ลงทุนน้อยให้ได้มากตรงประเด็น เป็นขั้นตอน
การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hotspital Accreditation)
2.โรงพยาบาลมีกระบวนการทำงานที่เป็นมาตรฐาน มาตรฐานนี้คือ ของโรงพยาบาลเอง โดยมีหลักประกันว่าจะไม่เกิดความเสี่ยงขึ้้นกับผู้ป่วย
3.โรงพยาบาลมีระบบตรวจสอบตนเองที่น่าเชื่อถือ
1.โรงพยาบาลมีความมุ่งมั่นต่อการพัฒนาคุณภาพ ทุกคนต้องรู้เป้าหมาย บทบาทของตน และพยายามพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
โรงพยาบาลมีการบริหารงานที่เป็นระบบมีการทำงานร่วมกันเป็นทีม
โรงพยาบาลมีกำลังคน สถานที่และเครื่องมือเหมาะสม ทรัยยากรสอดคล้องกับพันธกิจและขอบเขตของโรงพยาบาล
การนำมาตรฐาน HA สู่ปฏิบัติ
ตอนที่ I ภาพรวมของการบริหารองค์กร
I-2 กลยุทธ์
I-3 ผู้วย / ผู้รับผลงาน
I-1 การนำ
I-4 การวัดวิเคราะห์ และจัดการความรู้
I-5 กำลังคน
I-6 การปฏิบัตการ
ตอนที่ II ระบบงานสำคัญของโรงพยาบาล
II-2 การกำกับดูแลด้านวิชาชีพ
II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย
II-1 การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ
II-4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
II-5 ระบบเวชระเบียน
II-6 ระบบการจัดการด้านยา
II-7 การตรวจทดลองประกอบการวินิจฉัยโรค
II-8การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
II-9 การทำงานกับชุมชน
ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย
III-1 การเข้าถึงและเข้ารับบริการ
III-2 การประเมินผู้ป่วย
III-3 กางวางแผน
III-4 การดูแลผู้ป่วย
III-5 การให้ข้อมูลและเสริมพลัง
III-6 การดูแลต่อเนื่อง
ตอนที่ IV ผลลัพธ์
IV-1 ผลด้านการดูแลสุขภาพ
IV-2 ผลด้านการมุ่งเน้นผู้ป่วยและผู้รับผลงาน
IV-3 ผลด้านนกำลังคน
IV-4 ผลด้านการนำ
IV-5 ผลด้านประสิทธิผลของกระบวนการทำงานสำคัญ
IV-6 ผลด้านการเงิน
QA : Quality Assurance
การประกันคุณภาพการพยาบาล ( Nursing Quality Asuurance)
ลักษณะต่างๆของวิชาชีพพยาบาลที่ถูกสร้างขึ้น เพื่อให้เกิดความมั่นคงและเกิดการปฏิบัติการดูแลผู้ป่วย
องค์ประกอบเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ
1.มีการกำหนดเกณฑ์มาตรฐานการพยาบาล (Nursing standard)
มีการตรวจสอบคุณภาพการพยาบาล (Nursing audit) โดยมีการกำหนดวิธีและคู่มือของการตรวจสอบ ตามขอบเขตมาตรฐานที่กำหนดไว้
มีการปรับปรุงคุณภาพ (Qualit improvementt)
ระบบประกันคุณภาพการพยาบาล
การควบคณุภาพ (Quality control) :
การประเมิน (Quality assessment)
2.การประกันคุณภาพภายนอก : การดำเนินการตรวจสอบและประเมินผล ทั้งภายในและภายนอก เพื่อประกันว่าโรงพยาบาลได้ดำเนินบริหาร
รูปแบบการดำเนินงาน มี 7 ขั้น ตอน
1.ตรวจสอบค่านิยมและปรัชญาของโรงพยาบาล
2.กำหนดมาตรฐานทุกระดับ ทั้งโครงสร้าง กระบวนการและผลลัพธ์
3.กำหนดวิธีการวัด
วิเคราะห์และแปรผล บ่งชี้ จุดเด่น/ จุดด้อย
ทำแนวทางปฏิบัติ เพื่อปรับปรุง เปลี่ยนแปลง
เลือกแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมที่สุด
นำแนวทางที่เลือกไปปฏิบัติ
การประกันคุณภาพภายใน : กิจกรรมควบคุมคุณภาพภายใน ฝ่ายการพยาบาล เพื่อให้มั่นว่าการบิการเป็นไปตามหลักวิชาชีพ
การประกันภาพ (QA)
การวัดและประเมินคุณภาพ(Check)
การแก้ไขข้อบกพร่องและการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Act)
การปฏิบัติตามมาตรฐาน(Do)
การกำหนดมาตรฐาน (Plan)
คุณภาพการดูแลผู้ป่วย
ทบทวนการให้บริการและการดูแลผู้ป่วย
ทบทวน โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ : ขณะดูแลผู้ป่ วย เวชระเบียน อุบัติการณ์ /ภาวะแทรกซ้อน/การเสียชีวิต การ
ส่งต่อ/ การใช้ยา/ การให้เลือด
ทบทวน : การติดเชืKอในรพ./ ตัวชี้วัด/ คำร้องเรียน
ประเมินคุณภาพ/ประสิทธิภาพการดูแล/ หาโอกาสพัฒนา
ทีมดูแลผู้ป่วย
กำหนดกลุ่มประชากรเป้าหมายทางคลินิก & เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ ในการดูแล : DM, NB, TB, HIV, S/P
Craniotomy
กำหนดตัวชี้วัด ในการกำกับ ติดตามผลการดูแล ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมาย
ทำแผนพัฒนา/ปรับปรุง การดูแลผู้ป่วย
ใช้ข้อมูลวิชาการ : EBP
วิเคราะห์ต้นเหตุ
ความร่วมมือของทีมสหสาขาในการดูแลผู้ป่วย วิถีองค์รวม
ครอบคลุม: ป้องกัน รักษา ส่งเสริม ฟื้นฟู ตามความเหมาะสม