Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การศึกษากับสังคมไทย - Coggle Diagram
บทที่ 8 การศึกษากับสังคมไทย
ลักษณะสังคมไทยในอดีต
สังคมเกษตรกรรม
การไม่เคร่งครัดเวลา
พอเพียง ไม่มักได้
แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
สังคมหมู่บ้าน
ประนีประนอม
ความสงบ
ร่วมมือกัน
สังคมศาสนา
ซื่อสัตย์ จริงใจ
คน สัตว์ สิ่งแวดล้อม
ทางสายกลาง
สังคมครอบครัว
สมัครพรรคพวก
กตัญญู รู้บุญคุณ
เคารพผู้อาวุโส ผู้มีอำนาจ
การศึกษา
การศึกษาในสภาพสังคมนี้จะอยู่ที่บ้าน วัด และวัง เป็นหลัก โดยจะเน้นในเรื่องการอาชีพ การศาสนา แลพศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับท้องถิ่นทักษะก็เป็นทักษะเฉพาะยุค
ลักษณะสังคมไทยในยุคปฏิรูปประเทศ
สงคมอุตสาหกรรม
ให้ได้ปริมาณและกำไรมาก
วางแผนกำไรระยะยาว
เคร่งครัดเรื่องเวลา
สังคมเมือง
แตกหักรุนแรง
อึกทึก ครึกโครม
ตัวใครตัวมัน เห็นแก่ตัว
สังคมหย่อนศาสนา
หลอกหลวง เอาเปรียบ
ทำลายสิ่งแวดล้อม
รุนแรง
สังคมผลประโยชน์
กลุ่มพรรคพวก/ผลประโยชน์
กตัญญู รู้บุญคุณคนน้อยลง
เคารพผู้อาวุโส ผู้มีอำนาจน้อยลง
การศึกษา
การศึกษาในยุคนี้จะเคลื่อนย้ายมาอยู่โรงเรียน ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ตามระบบของอุตสาหกรรมที่เน้นการผลิตสิ่งของเหมือนๆกันจำนวนมาก มีลักษณะฌฉพาะยุคอยู่มาก ทักษะยุคนี้เป็นทักษะสมัยใหม่ขึ้น
ลักษณะสังคมในยุคโลกาภิวัตน์
สังคมเทคโนโลยี
ผลิตขึ้นใหม่ตลอดเวลา
ครองตลาดระดับโลก
ไม่จำกัดเวลา
สังคมเครือข่าย
เดินทางท่องเที่ยวมากขึ้น
โลกส่วนตัวของแต่ละคน
อุตสาหกรรมเครือข่าย
สังคมไร้ศาสนา/ค่านิยมอิสระ
ผลประโยชน์ไร้พรมแดน
ทำตามที่ตนเองพอใจ
ไม่คำนึงถึงท้องถิ่น/สิ่งแวดล้อม
สังคมนาๆชาติ
ผู้ชนะเป็นผู้ได้เปรียบ
ผลประโยชน์ตอบแทนนานาชาติ
เชื่อมโยงรอบโลก
การศึกษา
การศึกษาในยุคนี้จะอยู่ที่สื่อและเทคโนโลยีต่างๆ คนจะเรียนรู้ได้เองจากที่บ้าน วัด วัง ที่โรงเรียน โรงแรม สถานประกอบการ โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่เรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีสมัยใหม่
ผู้จัดทำ นางสาวมาลินี จอมคำสิงห์ 62723713202 หมู่เรียนที่ 2