Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12 การพยาบาลชีวอนามัย - Coggle Diagram
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
การพยาบาลชีวอนามัย
โรคจากการประกอบอาชีพ (Occupational disease)
หมายถึงความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับผู้ประกอบอาชีพ โดยมีสาเหตุจากสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ไม่เหมาะสม ลักษณะท่าทางการปฏิบัติงานไม่ถูกต้อง หรือสภาพของงานที่ออกแบบไม่เหมาะสมกับโครงร่างของร่างกาย ซึ่งการเจ็บป่วยอาจเกิดขึ้นกับผู้ประกอบอาชีพในขณะปฏิบัติงาน หรือหลังจากการปฏิบัติงานเป็นเวลานาน สามารถประเมิน ตรวจวัด และควบคุมปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคหรือความเจ็บป่วยได้
โรคที่เกี่ยวเนื่องจากการประกอบอาชีพ(Work related disease) หมายถึงโรค หรือความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับผู้ประกอบอาชีพ มีสาเหตุมาจากปัจจัยหลายอย่างร่วมกัน และการปฏิบัติงานเป็นปัจจัยหนึ่งของการเกิดโรค เช่น ลักษณะงานที่ไม่เหมาะสม ทำให้มีโอกาสเกิดโรคง่ายขึ้น เช่น การเกิดโรคแผลในกระเพาะอาหาร จากความเครียดในการปฏิบัติงานร่วมกับพฤติกรรมการดูแลตนเองไม่เหมาะสม
โรคจากการประกอบอาชีพ มีสาเหตุจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน 4 ปัจจัย ได้แก่
ปัจจัยทางเคมี
ปัจจัยทางชีวภาพ
ปัจจัยทางกายภาพ
ปัจจัยทางจิตวิทยาสังคม
โรคที่เกิดขึ้นจากสารเคมี ดังต่อไปนี้
6) สารหนู หรือสารประกอบของสารหนู
7) ปรอท หรือสารประกอบของปรอท
5) แมงกานีส หรือสารประกอบของแมงกานีส
8) ตะกั่ว หรือสารประกอบของปรอท
4) โครเมียม หรือสารประกอบของโครเมียม
9) ฟลูออรีน หรือสารประกอบของฟลูออรีน
3) ฟอสฟอรัส หรือสารประกอบของฟอสฟอรัส
10) คลอรีน หรือประกอบของคลอรีน
2) แคดเมียม หรือสารประกอบของแคดเมียม
11) แอมโมเนีย
1) เบริลเลียมหรือสารประกอบของเบริลเลียม
12) คาร์บอนไดซัลไฟด์
13) สารอนุพันธ์ฮาโรเจนของสารไฮโดรคาร์บอน
14) เบนซีน หรือสารอนุพันธ์ของเบนซีน
โรคผิวหนังที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
2) โรคด่างขาวจากการทำงาน
3) โรคผิวหนังอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุเนื่องการทำงาน
1) โรคผิวหนังที่เกิดจากสาเหตุทางกายภาพ เคมี หรือชีวภาพอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุเนื่องจากการทำงาน
โรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางกายภาพ
6) โรคจากรังสีอัลตราไวโอเลต
7) โรคจากรังสีไม่แตกตัวอื่น ๆ
5) โรคจากรังสีความร้อน
8) โรคจากแสงหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
4) โรคจากรังสีแตกตัว
9) โรคจากอุณหภูมิต่ำ หรือสูงผิดปกติ
3) โรคจากความกดดันอากาศ
10) โรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางกายภาพอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุเนื่องจากการทำงาน
2) โรคจากความสั่นสะเทือน
1) โรคหูตึงจากเสียง
โรคที่เกิดขึ้นจากสารเคมี ดังต่อไปนี้
19) คาร์บอนมอนนอกไซด์ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ หรือสารประกอบของไฮโดรเจนไซยาไนด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์
20) อะครัยโลไนไตรล์
18) แอลกอฮออล์ กลัยคอล หรือคีโตน
21) ออกไซด์ของไนโตรเจน
17) ไนโตรกลีเซอรีน หรือกรดไนตริคอื่น ๆ
22) วาเนเดียม หรือสารประกอบของเวเนเดียม
16) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ หรือกรดซัลฟูริค
23) พลวง หรือสารประกอบของพลวง
15) อนุพันธ์ไนโตรและอะมิโนของเบนซีน
24) เฮกเซน
25) กรดแร่ที่เป็นสาเหตุให้เกิดฟัน
26) เภสัชภัณฑ์
27) ทัลเลียม หรือสารประกอบของทัลเลียม
28) ออสเมียม หรือสารประกอบของออสเมียม
29) เซลีเนียม หรือสารประกอบของเซลีเนียม
30) ทองแดง หรือสารประกอบของทองแดง
31) ดีบุก หรือสารประกอบของดีบุก
32) สังกะสี หรือสารประกอบของสังกะสี
33) โอโซน ฟอสยีน
34) สารทำให้ระคายเคือง เช่น เบนโซควินโนน หรือสารระคายเคืองต่อกระจกตา เป็นต้น
35) สารกำจัดศัตรูพืช
36) อัลดีไฮด์ ฟอร์มาดีไฮด์และตารัลดีไฮด์
37) สารกลุ่มไดอ๊อกซิน
38) สารเคมี หรือสารประกอบของสารเคมีอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุเนื่องจากการทำงาน
โรคระบบหายใจที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
โรคปอดอักเสบภูมิไวเกิน
โรคซิลิโคซิส
โรคหืดจากการทำงาน
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
โรคบิสสิโนซิส
โรคปอดจากอะลูมิเนียม หรือสารประกอบของอะลูมิเนียม
โรคปอดจากโลหะหนัก
โรคทางเดินหายใจส่วนบนเกิดจากภูมิแพ้หรือสารระคายเคืองในที่ทำงาน
โรคกลุ่มนิวโมโคนิโอสิส เช่น ซิลิดคสิส แอสเบสโทสิส ฯลฯ
โรคระบบหายใจอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุเนื่องจากการทำงาน
โรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางชีวภาพ ได้แก่
โรคติดเชื้อ หรือโรคปรสิตเนื่องจากการทำงาน
โรคกระดูกและกล้ามเนื้อที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงานโดยมีสาเหตุจากการทำงานหรือสาเหตุจากลักษณะงานจำเพาะหรือมีปัจจัยเสี่ยงสูงในสิ่งแวดล้อมการทำงาน
โรคมะเร็งที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงานโดยมีสาเหตุจาก
โครเมียมและสารประกอบของโครเมียม
ถ่านหิน
บิสโครโรเมทธิลอีเทอร์
เบต้า-เนพธีลามีน
เบนซิดีน และเกลือของสารเบนซิดีน
ไวนิลคลอไรด์
แอสเบสตอส (ใยหิน)
เบนซีนหรืออนุพันธ์ของเบนซีน
น้ำมันดิน หรือผลิตภัณฑ์จากน้ำมันดิน เช่น น้ำถ่านหิน น้ำมันเกลือแร่ รวมทั้งผลิตภัณฑ์จากการกลั่นน้ำมัน เช่น ยางมะตอย พาราฟินเหลว
อนุพันธ์ของไนโตรและอะมิโนของเบนซีน
ไอควันจากถ่านหิน
รังสีแตกตัว
สารประกอบของนิกเกิล
ฝุ่นไม้
โรคมะเร็งที่เกิดจากปัจจัยอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุเนื่องจากการทำงาน
ไอควันจากเผาไม้
โรคอื่น ๆ ซึ่งพิสูจน์ได้ว่าเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานเนื่องจากการทำงาน
จัดทำโดย นางสาวศิญาพร เถาวัลย์ราช รหัสนักศึกษา 611410009-8 นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3