Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเลือดและส่วนประกอบของเลือด👨🚀👩🔬🥰🥰🎀 -…
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเลือดและส่วนประกอบของเลือด👨🚀👩🔬🥰🥰🎀
1.หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ🧡🧡🧡
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral intravenous infusion)
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำใหญ่ (Central venous therapy)
การให้สารน้้าและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
(Implanted vascular access device หรือ venous port)
8.การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ💘💘💘
การวางแผนในการบริหารยา
วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ข้อวินิจฉัย
การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินสภาพผู้ป่วย
3.ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการหยดของสารน้ำ💛💛💛💛
สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกดจะทำให้สารน้ำผ่านไม่สะดวก
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก จะบังคับการหยดได้ไม่ดีพอ อัตราการหยดจะเร็ว
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
ความหนืดของสารน้ำ ถ้าสารน้ ามีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดด า
10.อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ💝💝💝
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้้นเฉพาะที่ (Local complication)
2) การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
3) การติดเชื้อเฉพาะที่ บวมแดงร้อนบริเวณที่แทงเข็ม
1) การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอกหลอดเลือดดำ
4)หลอดเลือดดำอักเสบผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวม
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
1) การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ
2) การติดเชื้อในกระแสเลือด
3) เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด
4) ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป
11.การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ💕💕❣❣
ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
การวางแผนในการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
วางแผนให้สารน้ าทางหลอดเลือดด าโดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE
ของ patient safety goal
วัตถุประสงค์ของการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยได้รับสารน้ าทางหลอดเลือดด าไม่พบอาการแทรกซ้อนและปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights
และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
การประเมินผลการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
5.การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ💜💜💜
การเลือกต้าแหน่งของหลอดเลือดด้าที่จะแทงเข็ม
3) ตรวจสอบบริเวณต าแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม เช่นไม่มีบาดแผล
4) ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
2) ให้เริ่มต้นแทงเข็มแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
5) หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ
1) เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
6) คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้ หากเป็นสารน้ำชนิด Hypertonic
4.การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำ💙💙💙
เวลา 8 ชั่วโมง ต้องให้สารน้ า = 1000 cc
เวลา 1 ชั่วโมง ต้องให้สารน้ า = 1000
ตอบ เพราะฉะนั้นสารน้ าที่ผู้ป่วยต้องได้รับใน 1 ชั่วโมง = 125 cc/hr
2.ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ💚💚💚
สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
์เป็นสารน้ำที่มีโมเลกุลอิสระของน้ ามากกว่าในเซลล
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
เป็นสารน้ าที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์
9.การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ💖💖💖
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition (TPN)
6.อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำ💗💗💗
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
การให้สารอาหารมากเกินไป
ไข้(pyrogenic reactions)
7.การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ🤎🤎🤎
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
12.การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด💓💓💓
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น แต่ต้องดูกรุ๊ปเลือดตามระบบ ABO ด้วย
คนเลือดกรุ๊ป Oรับได้จากOเท่านั้นแต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป ABรับได้จากทุกกรุ๊ป แต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB
คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A และ O ให้ได้กับ A และ AB
คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B และ O ให้ได้กับ B และ AB
13.ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด🧡🧡❤❤
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป (Volume overload) เ
ไข้ (Febrile transfusion reaction)
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)
การถ่ายทอดโรค
การอุดตันจากฟองอากาศ
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ
14.การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด💔💔🤍🤍
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
16..กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้้าในร่างกาย💞💕💓💗
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
2) ประเมินอาการหลอดเลือดดำอักเสบบริเวณหลังมือ
3) ปริมาณสารน้ำเข้าและออกมีความสมดุล
1) ประเมินอาการปวดของผู้ป่วย
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
2) ประเมินอาการบวมที่หลังมือซ้ายทุกเวร หากบวมมากขึ้น ผู้ป่วยมีไข้
3) บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
1) หยุดให้สารน้ำทันที
4) จับมือซ้ายที่บวมสูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
5) เปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ าใหม
6) ประเมินการขาดสารน้ำและอิเล็คโตรไลทสารน้ำเข้าและสารน้ำออก
7) ลดภาวะเครียดโดยให้ความช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
15.การบันทึกสารน้ำเข้าน้ำออก💘💘💘💚
หลักการบันทึกจำนวนสารน้้าที่เข้าและออกจากร่างกาย
1) แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
2) อธิบายเหตุผลและความส าคัญของการวัดและการบันทึกนวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
4) จดบันทึกจำนวนน้าและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร
3) ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
6) บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่นๆ เช่น อาเจียน ท้องเดิน
5) การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน