Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร (Drugs used in Gastrointestinal tract) -…
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร (Drugs used in Gastrointestinal tract)
ยารักษาแผลในทางเดินอาหาร (Ulcer healing drugs)
1.2 ยาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกรด Antisecretory drugs
1.3 ยาที่ออกฤทธิ์ปกป้องเยื่อบุผนังทางเดินอาหาร Mucoprotectivr or Cytoprotective drugs
1.1 ยาที่ออกฤทธิ์โดยการลดกรด Antacids
1.1.1 ยาลดกรดที่ออกฤทธิ์โดยทั่วไป Systemic Gastic Antacid
เป็รยาลดกรมเมื่อรับประทานเข้าไป แล้วจะมีส่วนหนึ่งดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด มีผบทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสมดุลกรดด่าง
ทำให้ร่างกายมีภาวะเป็นด่าง
ยากลุ่มนี้จะมี sodium bicarbonate (NaHCO3) เป็นส่วนประกอบหลัก
เช่นยา Diasgest , magesto , Mellon , roter เป็นต้น ใช้ในการรักษาภาวะเป็นกรดในกระเพาะอาหาร ช่วยบรรเทาอาการปวดท้อง และ ไม่เหมาะกับโรคPUD
ยานี้ละลายน้ำได้ดี ออกฤทธิ์สั้น ถ้ารับเกินขนาดจะมีภาวัด่างที่รุนแรงsystemic alkalosis ทำให้ภาวะความดันสูง หัวใจล้มเหลว ที่รุนแรง
ยาเหมาะสำหรับใช้รักษา alkalosis และ ช่วยทำให้ปัสสาวะเปอนด่าว alkalinize urine
1.1.2 ยาที่ลดกรดที่ออกฤทธิ์เฉพาะแห่ง Non-Systemic gastric antagonist
1.1.2.2 Magnesium Hydroxide (Milk of Magnesium ,Mg(OH)2 )
ยาทำปฏิกิริยาเคมีกับกรดเกลือ ในกระเพาะอาหาร ดูดซึมในระบบทางเดินอาหารได้น้อยมาก ยาตัวนี้ทำให้เกิด กระบวนการ osmotic pressure จึงทำให้น้ำถูกดึงจาก tissue เข้าสู่สำไส้ใหญ่ ส่งผลทำให้น้ำใน stool มีมากขึ้น สำหรับนาชนิดนี้ ได้ทำการจดทะเบียนเป็นยาระบาย มักใช้คู่กับ AL(OH)2เพื่อให้ยามีฤทธิ์เป็นกรด
อาการข้างเคียง
ระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่วยโรคไต อาจทำให้เกิดระดับ Magnesium ในเลือดสูง หากพบสูงกว่า 50med/d จะส่งผลใกลห้กดระบบประสาทส่วนกลางรุนแรง กดการเกิด Reflex. ต่างๆ เกิดการอัมพาตของกล้ามเนื้อ เกิดภาวะความดันต่ำ และ อาจรุนแรงมากจนเกิดพิษต่อหัวใจ กดระบบการหายใจ และ เสียชีวิตได้
ยาขับออกทางไตได้ดี เนื่องจากยาเพิ่มระดับ pH ในปัสสาวะ หากรับประทานยาเป็นเวลานานอาจส่งผลให้มีแมกนีเซียมเกาะบริเวณไต ก่อให้เกิดพยาธิที่ไตไเ้
หากได้รับยาขนาดสูง ทำให้มีอาการท้องเดินรุนแรง อาจทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำและเกือแร่ได้
1.1.2.3 Calcium carbonate (CaCO3)
ออกฤทธิ์บดกรดได้ดี ยาถูกดูดซึมประมาณ 15 % ปริมาณยาที่ถูกดูดซึมไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับปริมาณกรดในกระเพาะอาหาร และ อาหารที่รับประทาน
อาการข้างเคียง
ที่พบได้บ่อยคือ ท้องผูก อุจจาระแข็ง ถ่ายลำบาก ท้องอืด เรอ คลื่นไส้ รสเฝื่อนในปาก
-ได้รับยานานและหยุดยาช้า อาจทำให้เกิดภาวะการหลั่งกรดมากหลังจากหยุดใช้ยา Rebound acid hypersecretion หรือ ผลจากการเร่งการดูดซึมแคลเซียมเป็นเวลานานทำให้พบโรคชนิดหนึ่ง คือ Milk alkali syndrome ที่มีอาการทางระบบประสาท (พบได้น้อย)
หาดทานยาร่วมกับนม หรือ ครีม จะทำให้แคลเซียมคั่งบริเวณอวัยวะต่างๆ เช่น ไต หรือ มีภาวะแคลเซียมในเลือดสูง
1.1.2.1 Aluminium hydroxide (Al(OH)3)
เป็นยาลดกรดที่มีฤทธิ์อ่อนสุด ทานเข้าไปจะมีปฏิกิริยาเคมีกัยกรดเกลือในกระเพาะอาหาร ได้เกลือและ น้ำ ยาไม่ถูกดูดซึมในระบบทางเดินอาหาร
อาการข้างเคียง
มีผลลดการเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร ทำให้เกิดท้องผูก จึงมักใช้ร่วมกันยา Magnesium Hydroxide เพื่อประสิทธิภาพในการลดกรดและ บรรเทาอาการท้องผูก
ใช้สายๆจะทำให้ ฟอตเฟส ในเลือดต่ำ เนื่องจากอลูมิเนียมไปจับกับฟอตเฟตในลำไส้ และขับออกทางอุจจาระ ทำให้ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย กล้ามเนื้ออ่อนแรง และ ส่งผลให้อาจมีการสลายแคลเซียมจากกระดูก อาจเกิดภาวะกระดูกพรุนได้
รบกวนการดูดซึมของยาชนิดอื่นๆ เช่น indomethacin , tetracycline , anticholinergic barbiturate , digoxin เป็นต้น
หมายถึง ยาลดกรดที่ออกฤทธิ์เฉพาะในทางเดินอาหารเท่านั้น ตัวยานี้ไม่ดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด ทำให้ไม่มีผลต่อสมดุล กรด ด่าง ยาน้ำมีผลดีในการรักษาแผลในกระเพาะอาหารได้ดีกว่ายาเม็ด
ข้อควรระวังของยากลุ่มลดกรด
การใช้ยาลดกรดในขนาดสูงๆ จัชะมีผลทำให้ PH ในกระเพาะอาหารสูงเกิน4.5 ซึ่งกรดตุ้ยให้ กระเพาะอาหารวลส่วนปลาย pyloric antrum หลั่ง Hormone เพิ่มขึ้น เป็นผลทำให้มีการหลั่งกรด เกลือมากขึ้น ทำให้อาการบองโรครุนแรงขึ้น
ระวังการใช้ยาลดกรดร่วมดับยาชนิดเม็ดเคลือบสาร ป้องกันการแยกตัว ของกรดในกระเพาะอาหาร enteric-coated เช่น ยา Aspirin , sodium valproate เป็นต้น เพราะยาลกกรดมีผลทำให้เกิดการ แตกตีวของยาเหล่านี้ ในกระเพาะอาหาร และ ยาถูกดูดซึมลดลง ดังนั้นจึงไม่ควรใช้ยาร่วมกับยาลดกรดภายในะเวลา1-2 ชั่วโมง
3.ยาลดกรดมีผลทำให้ pH ของปัสสาวะเป็นด่าง จึงทำให้การบับถ่ายยาที่เป็นด่างลดลง ทำให้ระดับยาชนิดนั้นมีการสะสมในกระแสเลือดและอาจส่งผลทำให้เกิดพิษของยาได้ เช่น ยา quinine ,amphetamine etc.และเพิ่มการขจัดยาที่มีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน เช่น Aspirin เป็นต้น
การใช้ยาลดกรดร่วมกับยาฏิชีวนะ กลุ่ม fluoroquinolone เช่น ยาnorfloxacin , ciprifloxacimและยาปฏิชีวนะกลุ่ม Tetracyclinจะทำให่ยาดูดซึม ยาปฏิชีวนะเหล่านี้ลดลง ระดับยาในเลือดจึงไม่ได้มีผลต่อการรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาลดกรดโดยรวม
แนะนำวิธีรับประทานยาที่ถูกต้อง ให้ผู้ป่วยเพื่อให้ผลที่ดีต่อการรักษา เช่น เขย่าก่อนรับประทาน (ยาชนิดน้ำ) หรือ เคี้ยวให้ละเอียดก่อนกลืน (ยาชนิดเม็ด)
ยาลดกรดอาจมีผลลดการดูดซึมยองยาตัวอื่น จึงไม่ควรให้ยาร่วมกับยาตัวอื่น โดยรับประทานยาอื่นก่อน1 ชั่วโมง ก่อนรับประทานยาลดกรด หรือ หลังรับประทานยาลดกรอ 2 ชั่วโมง
ในผู้ป่วยที่รับยาลดกรดAl(OH)3 เป็นระยะเวลานาน ควรแนะนำให้รับประทานอาหารที่มีฟอนเฟตสูบ เบ่นเนื้อสัตว์ ไข่แดง ถั่ว งา เป็นต้น เพื่อป้องกันการขาดฟอสเฟส รวมทั้วสังเกต ประเมินอาการจาก
1.4 ยาที่ใช้ขจัดเชื้อ H.pylori
ยาระงับอาการคลื่นไส้และอาเจียน Antiemetic agents
2.3 ยาที่มีฤทธิ์ปิดกั้นตัวรับเซอโรโทนิน 5HT3 ,(Serotonin 5HT3 - receptor antagonists)
2.4 ยาที่มีฤทธิ์ปิดกั้นตัวรับโดปามีนชนิดที่ 2 Dopamine D2-receptor antagonists
2.4.2 Doperidone ดอมเพอริโดน (Motilium/โมทิเลียม)
2.4.3 Haloperidol ฮาโลเพอริดอล (Haldol , Haridol , Halodol)
2.4.1 Metochlopramide (Plasil , Elitan , Emetal , Gensil)
2.4.4 Chlorpromazine / คลอร์โปรมาซีน (Ama , Cholrnazine)
2.2 ยาที่ฤทธิ์ต้านโคลิเนอร์จิก Anticholinergic drugs
2.5 สารสกัดจากกัญชา Cannabinoids
2.1 ยาที่ทีฤทธิ์ปิดกั้นตัวรับHistamine ชนิดที่ 1 (Histamins H1 - receptor antagonists)
2.6 อื่นๆ
Cisapride ซิซาไพร์ด / (Prepulsid/พรีพูลสิด)
2.6.1 กลุ่มยานอนหลับ
ยารักษาอาการท้องเสีย Antidiarrheal Agents
3.2 สารที่มีฤทธิ์ดูดวับสารพิษที่เปก็นต้นเหตุของอาการท้องเสีย
3.2.3 เกลือ Bismuth
3.2.2 Activated charcoal (Carbonpectate , Belacid , Ca-r-bon)
3.2.1 Kaolin and Pectin (Disento , Kaopectal)
3.2.4 Cholestyramine (Questran)
3.3 ยาที่ลดการเคลื่อนไหวของลำไส้
3.3.1 Opioids (Morphine , Diphenoxylate)
3.2.2 Loperamide (Loperdium , Imodium , Loperamide)
3.2.3 Diphenoxylate (Dilomil , Doitropine)
3.1 สารที่ทำให้อุจจาระเป็นก้อน Bulk Forming Substnce
3.4 ยาอื่นๆ
3.4.1 Lactobacillus acidophilus
3.4.2 ผงน้ำตาลเกลือแร่ Oral rehydration salt : ORS
ยาระบาย Laxative agents
4.2 ยาระบายที่มีแรงดึงน้ำมาก Hyperosmotic agents
4.3 ยาที่ระบายที่มีฤทธิ์กระตุ้นลำไส้ Stimulating cathartics
4.3.2 Athraquinone laxatives
4.3.3 Castor oil
Me and my broken heart
4.3.1 Bisacody (Dulcolax , Bisolax , Emulax )
4.1 ยาที่ทำให้เกิดการเพิ่มกากใย Bulk forming agents or hydrophilic laxative
4.4 ยาที่ช่วยหล่อลื่นและทำให้อุจจาระอ่อนนุ่ม Lubricant or Emollient laxative