Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด 💉💊🛏🩸🧫🧻💥✨,…
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด
💉💊🛏🩸🧫🧻💥✨
1 หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำใหญ่ (Central venous therapy)
เป็นการ
ให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central line ทางหลอดเลือดดำใหญ่
ได้แก่
Subclavian vein, Internal &
External jugular veins และ Right & Left Nominate veins
การให้สารน้้าและสารละลายทางหลอดเลือดด้าใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
(Implanted vascular access device หรือ venous port)
ฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลว
ทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนัง โดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่
เช่น
Subclavian vein, Right
& Left Nominate veins
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral intravenous infusion)
เป็นการให้
สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้น ๆ
โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ต้องงดอาหารและน้ำดื่ม เพื่อเตรียมผ่าตัด ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้ยาทางหลอด
เลือดดำ
Heparin lock หรือ Saline lock
Piggy back IV Administration
8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการบริหารยา
วางแผนบริหารยาตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety
goals
วัตถุประสงค์ของการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดด้า เพื่อ
ให้ยาออกฤทธิ์เร็ว
ให้ยาที่มีผลระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อ
ให้ยาชนิดที่ไม่สามารถให้ทางอื่นได้ผลต่อการรักษา
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดด้า
วัตถุประสงค์ของการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดด้า เพื่อ
วิธีการฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 6 three ways กับ syringe IV push
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
การบริหารยาที่มีประสิทธิภาพโดยใช้หลักการ 6 Rights
ใช้หลักความปลอดภัย SIMPLE ของ
patient safety goals
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
การประเมินผลการบริหารยาฉีด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินสิ่งแวดล้อม
5 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกต้าแหน่งของหลอดเลือดด้าที่จะแทงเข็ม
พิจารณาเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็มให้สารน้ำ
โดย
2) ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน เพื่อให้หลอดเลือดดำ
ส่วนที่ถัดเข้ามาสามารถใช้งานได้อีก
3)ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
1) เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
4) ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
5) หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ เพราะจะทำให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย หรือถ้า
จำเป็นต้องแทงบริเวณข้อพับให้ใช้ไม้ดามป้องกันการงอพับ
6) คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้ หากเป็นสารน้ำชนิด Hypertonic เนื่องจากสารน้ำมีความ
เข้มข้นของสารละลายสูง และมีความหนืดควรเลือกหลอดเลือดเส้นใหญ่ในการให้สารน้ำ
อุปกรณ์เครื่องใช้
เช่น
2) ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)
มี 2 แบบ
แบบชุดให้สารน้ำชนิดหยดธรรมดา (Regular or macro drip
administration set)
ชุดให้สารน้ำชนิดหยดเล็ก (Micro drip administration set)
ใช้เป็นทางผ่านของสารน้ำจาก
ขวดไปสู่หลอดเลือดดำของผู้ป่วยบรรจุในซองที่ปิดผนึกมิดชิดผ่านการฆ่าเชื้อ สามารถเปิดใช้ได้ทันที
3) เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral insertion devices)
ทำด้วยเทฟล่อน
นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน
มีหลายขนาดตั้งแต่เบอร์ 14, 16, 18, 20, 22 และ 24
1) ขวดสารน้ า โดยขวดสารน้ า/ยา
เตรียมให้ตรงกับใบสั่งการรักษาและตรวจสอบดูว่าสภาพ
4) อุปกรณ์อื่น ๆ
เสาแขวนขวดให้สารน้ำ
ยางรัดแขน (Tourniquet)
3 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก จะบังคับการหยดได้ไม่ดีพอ อัตราการหยดจะเร็ว
สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด จะทำให้สารน้ำผ่านไม่สะดวก
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ เข็มขนาดใหญ่จะมีทางผ่านกว้าง อัตราการหยดจะเร็วกว่า
ใช้เข็มขนาดเล็ก
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด แน่นหรือตึงเกินไปรวมทั้งการนั่ง หรือนอนทับสายให้สารน้ำ จะปิด
กั้นทางผ่านของสารน้ำ ทำอัตราการหยดช้าลง
ความหนืดของสารน้ำ ถ้าสารน้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย อาจทำให้เข็มเคลื่อนที่
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ าเกินไป การแขวนขวดสารน้ำให้สูง สารน้ำจะหยดเร็วกว่าการ
แขวนขวดในระดับต่ำ
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น หรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
7 การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
วางแผนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำโดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE
ของ patient safety goal
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
เครื่องใช้
intravenous fluid (IV fluid) ตามแผนการรักษา
intravenous catheter (IV cath.) เบอร์ 22/ 24
intravenous set (IV set)
tourniquet
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
extension tube
three ways
IV stand (เสาน้ำเกลือ)
พลาสเตอร์ หรือ พลาสเตอร์ใสส าเร็จรูป (transparent)
แผ่นฉลากชื่อ
ถุงมือสะอาด mask
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ีมีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลการให้สารน้ าทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
.4 การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำ
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้้าใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/ นาที) = จำนวน Sol.(มล/ชม.) x จำนวนหยดต่อมล.)/เวลา(นาที)
สูตรการคำนวณสารน้้าที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้/จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
6 อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
2) การติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia หรือ Septicemia)
มีไข้สูง หนาวสั่น ความดัน
โลหิตลดลง คลื่นไส้ อาเจียน บางครั้งมีอาการถ่ายเหลว มีการติดเชื้อเฉพาะที่เกิดร่วมด้วย
3) เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด (Air embolism)
เกิดจากการไล่ฟองอากาศในชุดสายให้สารน้ำไม่หมด
หรือการปล่อยสารน้ าจนหมดจนอากาศผ่านเข้าไปในชุดให้สารน้ านอกจากฟองอากาศ ลิ่มเลือด
(Thrombus) ที่เกิดจากการแทงเข็ม อาจหลุดเข้าไปอุดกั้นบริเวณอวัยวะสำคัญ
1) การแพ้ยาหรือสารน้ าที่ได้รับ (Allergic reaction)
มีผื่นแพ้เกิดขึ้นที่ผิวหนัง
ร่วมกับอาการแพ้ต่าง ๆ
4) ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป (Circulatory overload)
เกิดจากอัตราการหยดของสารน้ า
เร็วเกินไป
โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคหัวใจ อาจเกิดอาการหัวใจวาย (Cardiac failure)
น้ำท่วมปอด
(Pulmonary edema)
การพยาบาล
1) หยุดให้สารน้ ารายงาน ให้แพทย์ทราบ เพื่อให้การรักษา
2) เปลี่ยนขวดให้สารน้ำ กรณีผู้ป่วยมีการแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ หรือมีการติดเชื้อ
3) ให้การช่วยเหลือตามอาการ เช่น ให้ ออกซิเจนในกรณีที่ผู้ป่วยหายใจไม่ออก แล้วรีบ
4) วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
5) เตรียมรถ Emergency ในการช่วยเหลือเร่งด่วน
6) รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
7) ส่งเลือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
8) ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
9) ดูแลให้ออกซิเจน
10) จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะต่อกรณีความดันโลหิตต่ า หรือจัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงกรณีความดันโลหิตสูง
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
2) การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม (Extravasations)
บริเวณที่
แทงเข็มบวมและมีเลือดแทรกซึมใต้ผิวหนัา
ผู้ป่วยรู้สึกปวดแสบ ปวดร้อน ไม่สุขสบาย
ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
แดง สารน้ำที่ให้หยดช้าลง
เมื่อปิด Clamp ชุดให้สารน้ำจะไม่มีเลือดไหลย้อนเข้ามาในสาย
3) การติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection)
บวมแดง ร้อน บริเวณที่แทงเข็ม
อาจจะมี
หนองบริเวณที่แทงเข็ม
1) การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอก หลอดเลือดดำ (Infiltration)
เกิดอาการบวมบริเวณที่
แทงเข็มให้สารน้ำ
ผู้ป่วยรู้สึกปวดแสบบริเวณที่บวมและไม่สุขสบาย
สารน้ำที่ให้หยดช้าลงหรือไม่ไหล
4) หลอดเลือดดำอักเสบ (Phlebitis)
ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวม
ตำแหน่งที่แทงเข็มแดงร้อน
ไปตามแนวของหลอดเลือด
หลอดเลือดดำที่ให้สารน้ำเป็นลำแข็ง
ระดับการอักเสบของหลอดเลือดดำจากการให้สารน้ำ (Phlebitis Scale)
Grade 0 ไม่มีอาการ
Grade 1 ผิวหนังบริเวณแทงเข็มแดง มีอาการปวดหรือไม่มีก็ได้
Grade 2 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมหรือไม่บวมก็ได้
Grade 3 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดงเป็นทาง คลำได้หลอดเลือดแข็งเป็นลำ
Grade 4 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดงเป็นทาง คลำได้หลอดเลือดแข็งเป็นลำ
การพยาบาล
โดย
1) หยุดให้สารน้ำ จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
2) ประคบด้วยความร้อนเปียก
3) เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
4) รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
5) จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย เพื่อลดอาการบวม
6) ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
2 ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 m0sm/l ซึ่งค่า
Osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
เป็นสารน้ำที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า
310 m0sm/l ซึ่งมีมากกว่าออสโมลาริตี้ของน้ำเซลล
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์
(Extracellular fluid)
12 การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
เลือด
เซลล์เม็ดเลือด
เซลล์เม็ดเลือดขาว (white blood cell หรือ leukocyte)
เกร็ดเลือด
(platelet) และน้ำเลือด (plasma)
เซลล์เม็ดเลือดแดง (red
blood cell หรือ erythrocyte)
การให้เลือด (Blood transfusion)
หมายถึง
การให้เลือด หรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือเฉพาะน้ำเลือด
แก่ผู้ป่วยโดยผ่านเข้าทางหลอดเลือดดำ
การให้เลือดสามารถฃ่วยคนและฆ่าคนได้
พยาบาลผู้รับผิดชอบจึงต้องมีความละเอียดรอบคอบ
ระมัดระวังในการให้เลือด มีความรู้ในการให้เลือด วัตถุประสงค์ของการให้เลือด หมู่เลือดและส่วนประกอบของเลือด
พยาบาลต้องมีความรู้เกี่ยวกับหมู่เลือด
เนื่องจากการให้เลือดที่เข้ากันไม่ได้ระหว่าง
ผู้ให้และผู้รับจะก่อให้เกิดปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจนและแอนติบอดี ท าให้เม็ดเลือดแดงแตกและอาจท าให้ถึง
แก่ชีวิตได้ หมู่เลือดที่มีความส าคัญคือระบบ ABO และระบบ Rh
ในระบบ ABO จำแนกหมู่เลือดออกเป็น 4 หมู่
หมู่เลือด A, B, AB และ O
หมู่เลือดที่สามารถถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ได้
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น แต่ต้องดูกรุ๊ปเลือดตามระบบ ABO ด้วย (หากคนเลือดกรุ๊ป Rh-ve รับเลือดจาก Rh+ve อาการข้างเคียงจะยิ่งรุนแรงมากขึ้น ในครั้งถัดๆไป)
คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O เท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป ABรับได้จากทุกกรุ๊ป แต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB
คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A และ O ให้ได้กับ A และ AB
คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B และ O ให้ได้กับ B และ AB
16 กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของน้ำในร่างกาย
ช้กระบวนการ
พยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลให้แก่ผู้ป่วย
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
.14 การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ข้ั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
9 การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้ หรือรับประทานได้น้อยไม่เพียงพอต่อความ
ต้องการของร่างกาย มีภาวะผิดปกติของระบบทางเดินอาหารไม่สามารถให้อาหารทางปากได้
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
อุจจาระร่วงรุนแรง
อุจจาระร่วงเป็นระยะ
เวลานาน
อาเจียน
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1) โรคทางเดินอาหาร เช่น อุจจาระร่วงเรื้อรัง การอักเสบในระบบทางเดินอาหาร ลำไส้ อักเสบจากการฉายรังสีเป็นต้น
2) โรคของอวัยวะต่างๆ เช่น ภาวะไตวาย โรคหัวใจแต่ก าเนิด เป็นต้น
3) ภาวะทางศัลยกรรม เช่น ถูกน้ำร้อนลวก ภายหลังการผ่าตัด เป็นต้น
4) ความผิดปกติของจิตใจ เช่น anorexia nervosa เป็นต้น
5) โรคมะเร็งต่างๆ เช่น มะเร็งกระเพาะอาหาร เป็นต้น
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
วิตามิน ให้ทั้งชนิดละลายในน้ า
เช่น วิตามิน B12, thiamine เ
เกลือแร
สารละลายไขมัน (fat emulsion)
น้ าให้ค านวณจ านวนน้ าที่จะให้แก่ผู้ป่วยตามน้ าหนักตัว
คาร์โบไฮเดรต นิยมใช้ในรูปของกลูโคส
โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition (TPN)
ให้โภชนบำบัดครบตามความต้องการของผู้ป่วย
ทั้งปริมาณพลังงานที่ต้องการ และสารอาหารทุกหมู่
นี้สารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำจะมีความ
เข้มข้นสูงมาก
จำเป็นต้องให้ทาง Central vein จึงจะไม่เกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำ(Phlebitis)
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
เป็นการให้โภชนบาบัดทางหลอดเลือดดำ
เพียงบางส่วน
อาจได้พลังงานไม่ครบตามความต้องการ หรือได้สารอาหารไม่ครบทุกหมู่
กรณีนี้ถ้าความเข้มข้น
ของสารอาหารไม่มากนัก สามารถให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein) ได้
PPN นี้เป็นการ
ดูแลไม่ให้ผู้ป่วยขาดสารอาหารมากเกินไป
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดด้า
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein)
ข้อดีของการให้วิธีนี้คือไม่ยุ่งยาก สามารถ
ให้แก่ผู้ป่วยได้ทันที
ข้อจำกัดคือ ไม่สามารถให้น้ำตาลกลูโคสมากกว่าร้อยละ 10 ของสารละลาย
สารละลายจะมีค่าออสโมลาลิตี้สูง จะทำให้เกิดหลอดเลือดดำอุดตันในที่สุด
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ (central vein)
สามารถเพิ่มความเข้มข้นของน้ำตาลกลูโคสได้
ถึงร้อยละ 20-25
เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นเวลานาน
เหมาะต้องการพลังงานค่อนข้างสูงเป็นการทำหัตถการโดยแพทย์
อุปกรณ์ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
สายให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
ปัจจุบันสายให้อาหารทางหลอดเลือดดำมีรูปแบบต่างๆ
ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของผู้ป่วยแต่ละราย
ชุดให้สารอาหาร
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร ปิดผ้าก๊อซปราศจากเชื้อบริเวณรอยต่อโดยใช้
เทคนิคปราศจากเชื้อ
ตรวจสอบ PPN หรือ TPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือ TPN ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่่่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิดและปริมาณของสารอาหาร
อัตราหยดต่อนาที วันและเวลาที่เริ่มให้ วันและเวลาที่สารอาหารหมด ชื่อผู้เตรียมสารอาหาร
ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้ง สวมmask
นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วยโดยเช็ดบริเวณรอยต่อด้วยสำลีชุบ
แอลกอฮอล์ ปิดด้วยผ้าก๊อซปราศจากเชื้อ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ เนื่องจากผู้ป่วยเมื่อทราบว่าจะต้องให้สารอาหารมักมีความวิตกกังวล
ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแผนการรักษา
10 อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง (Local infiltration)
เกิดขึ้นเมื่อเข็มเคลื่อน
ออกจากหลอดเลือด
พบได้บ่อยในหลอดเลือดที่เล็ก บาง หรือผู้ป่วยที่มีกิจกรรมมากๆ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด (Embolism)
ที่พบบ่อยจะเป็นก้อนเลือด
(thromboembolism) และอากาศ (air embolism)
สาเหตุ
มักมาจากผนังด้านในของ
หลอดเลือดดำไม่เรียบ และมีเข็มแทงผ่าน
เป็นผลให้เลือดไหลผ่านบริเวณนั้นช้าลง
เกิดการสะสมของเลือด
และเกร็ดเลือด
ถ้าก้อนเลือดหลุดออกไปในหลอดเลือดและไปอุดตัน
การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload
พบได้ง่ายในผู้ป่วยเด็ก ผู้ที่มีปัญหาของ
ระบบไหลเวียนเลือด และไต อาจเนื่องจากให้สารอาหารที่เร็วเกินไป
ไข้(pyrogenic reactions)
เกิดจากมีสารแปลกปลอมซึ่งเป็นส่วนประกอบของโปรตีนเข้าสู่
กระแสเลือด
สาเหตุเนื่องจากอาจมีการปนเปื้อนในการเตรียมสารอาหาร หรือการฉีดยาทางสายยางให้อาหาร
สารอาหารเสื่อมอายุ หมดอายุ ขวดบรรจุสารอาหารมีรอยร้าว หรือหมดอายุของขวดบรรจุสารอาหาร
การหยุดให้สารอาหารทางหลอดเลือดด้า
เมื่อไม่มีความจำเป็นที่จะให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำให้งด สารละลายไขมันได้ทันที และลด
ความเข้มข้นของน้ าตาลกลูโคส และกรดอะมิโนลง รวมทั้งเกลือแร่ต่างๆ ด้วย
เพิ่มอาหารที่ให้
ทางปาก
11 การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย (Assessment)
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
วัตถุประสงค์เพื่อ
ไม่เกิดภาวะหลอดเลือดด าอักเสบ
ไม่เกิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
เกณฑ์การประเมินผล
บริเวณที่ให้สารน้ าทางหลอดเลือดด าไม่มีบวมแดง
สัญญาณชีพปกติ
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ (Evaluation)
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
การประเมินผลการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
13 อาการแทรกซ้อนจากการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
เกิดจากการให้เลือดผิดหมู่
เม็ดเลือดแดงจะแตกและ
บางส่วนไปอุดตันหลอดเลือดฝอยของท่อไตทำให้ไตวายอาจเกิดอาการหลังให้เลือดไปแล้วประมาณ 50 มล.
หรือน้อยกว่า
จะพบว่าผู้ป่วยมีอาการหนาวสั่น มีไข้ปวดศีรษะ ปวดหลังบริเวณเอว กระสับกระส่าย ปัสสาวะ
เป็นเลือด
ปัสสาวะไม่ออกในภายหลัง ตัวและตาเหลือง หายใจลำบาก เจ็บแน่นหน้าอก หลอดเลือดแฟบ
ความดันเลือดต่ า อาจเสียชีวิตจากยูรีเมีย
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป (Volume overload)
เกิดจากการให้เลือดใน
อัตราเร็วเกินไป
ไข้ (Febrile transfusion reaction)
เกิดจากการได้รับสารที่ท าให้เกิดไข้เชื้อแบคทีเรียจาก
เครื่องใช้หรือเทคนิคการให้เลือดที่ไม่สะอาด
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction) เ
เกิดจากผู้รับแพ้สารอย่างใดอย่างหนึ่งในเลือดที่ได้รับ ผู้ป่วย
จะมีอาการมีผื่นคัน หรือลมพิษ อาการคั่งในจมูก หลอดลมบีบเกร็ง หายใจล าบาก ฟังได้เสียงวี๊ซ (wheeze) ในปอด
การถ่ายทอดโรค (Transfusion-associated graft versus host disease)
มักเกิดจากการขาด
การตรวจสอบเลือดของผู้ให้ ซึ่งมีการติดเชื้อต่าง ๆ
เช่น ตับอักเสบ มาเลเรีย ซิฟิลิส เอดส์ โรคภูมิแพ
การอุดตันจากฟองอากาศ (Air embolism)
เกิดจากการไล่ฟองอากาศไม่หมดไปจากสายให้เลือด
อากาศจะลอยไปตามกระแสเลือด และอาจไปอุดตันหลอดเลือดดำให้ขัดขวางการนำออกซิเจน
ภาวะสารซิเตรทเกินปกต
เกิดจากการให้เลือดติดต่อกันเป็นจำนวนมากจึงมีการสะสมของสารกันการแข็งตัวของเลือด (Acid – citrate dextrose) เพิ่มขึ้นและไปจับตัวกับแคลเซี่ยมในเลือดระดับแคลเซี่ยมจึงลดน้อยลง
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ (Hyperkalemia)
เกิดจากการให้เลือดที่เก็บไว้ในธนาคารเลือดนานเกินไป
หลังจากที่ผู้ป่วยได้เลือดจะพบอาการคลื่นไส้อาเจียน ท้องเดิน กล้ามเนื้ออ่อนแรง อาการคล้ายอัมพาตบริเวณ
ใบหน้ามือและขา ชีพจรเบา ช้า ถ้าระดับโปตัสเซียมสูงมากหัวใจจะหยุดเต้น
15 การบันทึกสารน้ำเข้าออกร่างกาย
1 หลักการบันทึกจ้านวนสารน้้าที่เข้าและออกจากร่างกาย
3) ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
4) จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร พร้อมทั้ง
อธิบายให้ผู้ป่วยดื่มน้ าในขวดที่เตรียมไว้ให้ไม่นำน้ ำที่เตรียมไว้ไปบ้วนปากหรือเททิ้ง
2) อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจำนวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจาก
ร่างกาย
5) การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
1) แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย เพื่อสะดวกในการจดบันทึกและเมื่อครบ 24
ชั่วโมง ต้องสรุปลงในแผ่นรายงานประจำตัวของผู้ป่วยหรือฟอร์มปรอท
6) บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่น ๆ เช่น อาเจียน ท้องเดิน ของเหลวที่ระบายออกจากการ
ใช้เครื่องดูดกับสายยางจากกระเพาะ
💞💊💁🏻♀️
จัดทำโดย
นางสาวพลินี จำปา 19A 6201210378
🌈✨💕