Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ, นางสาวสุปรียา ถาวิโร 6001210026 secB -…
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ
สุขภาพ
ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกายทางจิตทางปัญญาและทางสังคมเชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล
ปัญญา
ความรู้ทั่วรู้เท่าทันและความเข้าใจอย่างแยกได้ในเหตุผลแห่งความดี
ระบบสุขภาพ
ระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
บริการสาธารณสุข
บริการต่างๆอันเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ
สถานพยาบาล
การประกอบโรคศิลปะการประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรมการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ตามกฎหมาย
โรคติดต่อ
ความหมาย
โรคที่เกิดจากเชื้อโรคหรือพิษของเชื้อโรคซึ่งสามารถแพร่โดยทางตรงหรือทางอ้อมมาสู่คน
โรคติดต่ออันตราย
โรคติดต่อที่มีความรุนแรงสูงและสามารถแพร่ไปสู่ผู้อื่นได้อย่างรวดเร็ว
โรคระบาด
โรคติดต่อหรือโรคที่ยังไม่ทราบสาเหตุของการเกิดโรคแน่ชัดซึ่งอาจแพร่ไปสู่ผู้อื่นได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง
พาหะ
คนหรือสัตว์ซึ่งไม่มีอาการของโรคติดต่อปรากฏแต่ร่างกายมีเชื้อโรคนั้นซึ่งอาจติดต่อถึงผู้อื่นได
การเฝ้าระวังโรคติดต่อ
กรณีที่พบผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่อดังกล่าวเกิดขึ้นในบ้าน
ผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาลในกรณีที่พบผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่อดังกล่าวเกิดขึ้นในสถานพยาบาล
ชันสูตรทางการแพทย์หรือทางการสัตวแพทย์ตรวจพบว่าอาจมีเชื้ออันเป็นเหตุของโรคติดต่อดังกล่าว
เจ้าของหรือผู้ควบคุมสถานประกอบการหรือสถานที่อื่นใดในกรณีที่พบผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่อดังกล่าวเกิดขึ้นในสถานที่นั้น
การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
ผู้ที่เป็นผู้สัมผัสโรคหรือเป็นพาหะมารับการตรวจหรือรักษา
ห้ผู้ที่มีความเสี่ยงที่จะติดโรคได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การป้องกันการแพร่ของโรคด้วยการกําจัดสัตว์แมลงหรือตัวอ่อนของแมลงที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคติดต่ออันตราย
ห้ามผู้ใดกระทําการหรือดําเนินการใดๆซึ่งอาจก่อให้เกิดสภาวะที่ไม่ถูกสุขลักษณะซึ่งอาจเป็นเหตุให้โรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดแพร่ออกไป
ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
จัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
จัดการสุขาภิบาลเกี่ยวกับอาหารและน้ําให้ถูกสุขลักษณะ
กําจัดยุงและพาหะนําโรค
ปฏิบัติการตามวิธีการอื่นใดตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด
ยา
ยาแผนปัจจุบัน
ยาที่มุ่งหมํายสำหรับใช้ในการประกอบวิชําชีพเวชกรรม
ยาสมุนไพร
ยาที่ได้จํากพฤกษชําติ สัตว์ หรือแร่ ซึ่งมิได้ผสม ปรุง หรือแปรสภาพ
การโฆษณา
ไม่เป็นการโอ้อวดสรรพคุณยา
ไม่แสดงสรรพคุณยาอันเป็นเท็จหรือเกินความจริง
ไม่ทำให้เข้าใจว่ามีวัตถุใดเป็นตัวยา
ไม่ทำให้เข้าใจว่าเป็นยําทำให้แท้งลูกหรือยาขับระดูอย่างแรง
ไม่แสดงสรรพคุณยาว่าสามารถบำบัด บรรเทา รักษาหรือป้องกันโรค
กํารประกอบวิชาชีพเวชกรรม
การประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม
วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
วัตถุออกฤทธิ์
วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทที่เป็นสิ่งธรรมชาติหรือที่ได้จากสิ่งธรรมชาติหรือวัตุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
เสพ
การรับวัตถุออกฤทธิ์เข้าสู่ร่างกายโดยรู้อยู่ว่าเป็นวัตถุออกฤทธิ์ไม่ว่าด้วยวิธีใด
ติดวัตถุออกฤทธิ์
เสพวัตถุออกฤทธิ์เป็นประจําติดต่อกันจนตกอยู่ในสภาพที่จําเป็นต้องพึ่งวัตถุออกฤทธิ์นั้น
เครื่องสําอาง
ความหมาย
วัตถุที่มุ่งหมายสําหรับใช้ทาถูนวดโรยพ่นหยอดใส่อบหรือกระทําด้วยวิธีอื่นใดกับส่วนภายนอกของร่างกายมนุษย
วัตถุที่มุ่งหมายสําหรับใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเครื่องสําอางโดยเฉพาะ
ฉลากเครื่องสําอาง
ใช้ข้อความที่ตรงต่อความจริง
ใช้ข้อความภาษาไทยและมีขนาดที่สามารถอ่านได้ชัดเจน
ต้องระบุข้อความดังต่อไปน
ชื่อเครื่องสําอางและชื่อทางการค้า
ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต
ปริมาณวิธีใช้ข้อแนะนําคําเตือนเดือนปีที่ผลิตและที่หมดอายุ
ข้อความอื่นเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของผู้บริโภค
การควบคุมเครื่องสําอาง
ผู้จดแจ้งต้องผลิตหรือนําเข้าเครื่องสําอางให้ตรงตามที่ได้จดแจ้งไว้
ห้ามมิให้ผู้ใดผลิตเพื่อขายนําเข้าเพื่อขายรับจ้างผลิตหรือขายเครื่องสําอางดังต่อไปนี้
เครื่องสําอางที่ไม่ปลอดภัยในการใช้
เครื่องสําอางปลอม
เครื่องสําอางผิดมาตรฐาน
เครื่องสําอางที่รัฐมนตรีประกาศห้ามตามมาตรา๖
เครื่องสําอางที่ถูกสั่งเพิกถอนใบรับจดแจ้งตามมาตรา
คุ้มครองผู้บริโภค
ผู้บริโภค
ผู้ซื้อหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้ซึ่งได้รับการเสนอหรือการชักชวนจากผู้ประกอบธุรกิจเพื่อให้ซื้อสินค้าหรือรับบริการ
เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าสินค้าใดอาจเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภค
คณะกรรมการมีอํานาจออกคําสั่งให้ผู้ประกอบธุรกิจดําเนินการทดสอบหรือพิสูจน์สินค้านั้น
ผู้ประกอบธุรกิจต้องเปิดเผยความลับทางการผลิตเว้นแต่ข้อความดังกล่าวจะเป็นสิ่งจําเป็นที่เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้บริโภค
สุขภาพจิต
ความผิดปกติทางจิต
อาการผิดปกติของจิตใจที่แสดงออกมาทางพฤติกรรมอารมณ์ความคิดความจําสติปัญญา
ความจําเป็นต้องได้รับการบําบัดรักษา
สภาวะของผู้ป่วยซึ่งขาดความสามารถในการตัดสินใจให้ความยินยอมรับการบําบัดรักษา
สถานบําบัดรักษา
ตรวจวินิจฉัยประเมินอาการ
ทําความเห็นเกี่ยวกับการบําบัดรักษา
สิทธิผู้ป่วย
ได้รับการบําบัดรักษาตามมาตรฐานทางการแพทย
ได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการบําบัดรักษาไว้เป็นความลับ
ได้รับการคุ้มครองจากการวิจัย
ได้รับการคุ้มครองในระบบประกันสุขภาพและประกันสังคม
การบําบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย
กระทําไม่ได้เว้นแต่เป็นความจําเป็นเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเอง
การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า
กรณีผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นหนังสือเพื่อการบําบัดรักษานั้น
กรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือมีความความจําเป็นอย่างยิ่ง
ผู้ป่วย
ารบําบัดรักษาจะกระทําได้ต่อเมื่อผู้ป่วยได้รับการอธิบายเหตุผลความจําเป็นในการบําบัดรักษา
ถ้าต้องรับผู้ป่วยไว้ในสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบําบัดรักษาความยินยอมตามวรรคหนึ่งต้องทําเป็นหนังสือและลงลายมือชื่อผู้ป่วยเป็นสําคัญ
นางสาวสุปรียา ถาวิโร 6001210026
secB