Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่(Central venous therapy)
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง (Implanted vascular access device หรือ venous port)
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral intravenous infusion)
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
สายให้สารน้ำ
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
ความหนืดของสารน้ำ
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถใช้แขนที่ถนัดทำกิจวัตรประจำวันต่างๆได้
ให้เริ่มต้นแทงที่เข็มให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน เพื่อให้หลอดเลือดดำส่วนที่ถัดเข้ามาสามารถใช้งานได้อีก โดยตำแหน่งเส้นเลือดดำส่วนปลายที่แขนและมือ เหมาะสำหรับการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ได้แก่ Cephalic vein และ Basilic vein
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไฮเปอร์โทนิก(Hypertonic solution)
สารละลายไฮโปโทนิก(Hypotonic solution)
สารละลายไอโซโทนิก(Isotonic solution)
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นเฉพาะที่(Local complication)
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม(Extravasations)
การติดเชื้อเฉพาะที่(Local infection)
การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอกหลอดเลือดดำ (Infiltration)
หลอดเลือดดำอักเสบ(Phlrbitis)
ภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นในระบบไหลเวียนเลือด(Systemic complication)
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด(Air embolism)
การติดเชื้อในกระแสเลือด(Bacteria หรือ Septicemia)
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ(Allergic reaction)
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป(Circulatory overload)
การคำนาณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย(หยด/นาที) = จำนวนSol.(มล/ชม) * จำนวนหยดต่อมล.) /เวลา(นาที)
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน1ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ / จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ชนิดของสารอาหาร
Partial or parenteral nutrition(PNN)
Total parental nutrition(TPN)
ข้อบ่งชี้
ภาวะทางศัลยกรรม
ความผิดปกติของจิตใจ
โรคของอวัยวะต่างๆ
โรคมะเร็งต่างๆ
โรคทางเดินอาหาร
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด(Embolism)
การให้สารอาหารมากเกินไป พบในเด็ก ผู้ทีมีปัญหาของระบบไหลเวียนเลือด และไต เนื่องจากให้สารอาหารที่เร็วเกินไป
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง(Local infiltration)
ไข้(pyrogenic reactions)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการบริหารยา
ขั้นตอนที่4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
วิธีที่1 IV plug กับ piggy back(100ml)
วิธีที่2 IV plug กับ syringe IV push
วิธีที่3 Surg plug กับ piggy back(100ml)
วิธีที่4 Surg plug กับ syringe IV push
วิธีที่5 three ways กับ piggy back(100ml)
วิธีที่6 three ways กับ syringe IV push
ขั้นตอนที่5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่3 การวางแผนการพยาบาล
ขั้นตอนที่4 การปฏิบัติการพยาบาล
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ขั้นตอนที่5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ข้อมูล S กับ O
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลกิจกรรมพยาบาล เป็นการประเมินผลปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานครั้งต่อไป
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินแผนการรักษา
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
ปฏิกิริยาภูมิแพ้(Allergic reaction)
การถ่ายทอดโรค(Transfusion graft versus host disease)
ไข้(Febrile transfusion reaction)
การอุดตันจากฟองอากาศ(Air embolism)
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป(Volume overload)
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
เม็ดเลือดแดงสลายตัว(Hemolysis)
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ(Hyperkalemia)
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
จัดมือซ้ายที่บวมให้สูงกว่าลำตัวของผู้ป่วย โดยใช้หมอนรอง เพื่อลดอาการบวม
ประเมินอาการบวมที่หลังมือซ้ายทุกเวร หากบวมมากขึ้น ผู้ป่วยมีไข้
เปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
หยุดให้สารน้ำทันที
ประเมินการขาดสารน้ำและอิเล็คโตรไลท์ โดยบันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกทุกเวรเพื่อให้ความช่วยเหลือและแก้ไขได้โดยเร็ว
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ส่วนประกอบ
เกร็ดเลือด (platelet)
น้ำเลือด(plasma)
เซลล์เม็ดเลือดแดง(red blood cell)และเซลล์เม็ดเลือดขาว(white blood cell)
การให้เลือด
ให้เลือดหรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือน้ำเลือด แก่ผู้ป่วยโดยผ่านเข้าทางหลอดเลือดดำ แม้การให้เลือดจะช่วยชีวิตผู้ป่วยได้แต่ก็อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้
การให้และการรับในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ปAB รับได้จากทุกกรุ๊ปเลือดแต่ให้ได้แค่กรุ๊ปเลือดAB
คนเลือดกรุ๊ปA รับได้จาก A O และให้ได้กับAและ AB
คนเลือดกรุ๊ปOรับได้จากOเท่านั้นต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ปB รับได้จาก B O และให้ได้กับ B และAB
คนเลือดกรุ๊ป Rh-veต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น แต่ต้องดูกรุ๊ปเลือดตามระบบ ABOด้วย
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่4 การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่5 การประเมินผลการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
การบันทึกน้ำเข้า-ออกจากร่างกาย(Record intake-output)
จำนวนน้ำที่ร่างกายได้รับ(Fluid intake)
จำนวนน้ำหรือของเหลวทุกชนิดที่ร่างกายได้รับ เช่น การดื่มน้ำ การได้รับสารน้ำ ยา
จำนวนน้ำที่ขับออกจากร่างกาย(Fluid output)
จำนวนน้ำที่ร่างกายสูญเสียออกนอกร่างกาย ได้แก่ปัสสาวะ อาเจียน อุจจาระ ของเหลวที่ออกจากท่อระบายต่างๆ
หลักการบันทึกจำนวนสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร พร้อมทั้งอธิบายให้ผู้ป่วยดื่มน้ำในขวดที่เตรียมไว้ให้ ไม่นำน้ำที่เตรียมไว้ไปบ้วนปากหรือเททิ้ง
อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจำนวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย เพื่อสะดวกในการจดบันทึกและเมื่อครบ24ชั่วโมง ต้องสรุปลงในแผ่นรายงานประจำตัวของผู้ป่วยหรือฟอร์มปรอท
บันทึกจำนวนสารน้ำที่สญเสียทางอื่นๆ เช่น อาเจียน ท้องเดิน ของเหลวที่ระบายออกจากการใช้เครื่องดูดกับสานยางจากกระเพาะ