Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเลือดและส่วนประกอบของเลือด, จำนวนหยดของสารละลาย…
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
(Peripheral intravenous infusion)
ผู้ป่วยที่ต้องงดอาหารและน้ำดื่มเพื่อเตรียมผ่าตัด
ทางหลอดเลือดดำใหญ่
(Central venous therapy)
ให้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปาก
ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
(venous port)
ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้สารละลายทางหลอดเลือดดำเป็นระยะๆ
และไม่สามารถให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำส่วนปลายได้
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไอโซโทนิก
(Isotonic solution)
ความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์
ออสโมลาริตี้ระหว่าง 280 - 310 m0sm/l
สารละลายไฮโปโทนิก
(Hypotonic solution)
ออสโมลาริตี้น้อยกว่า 280 m0sm/l
ความเข้มข้นน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์
สารละลายไฮเปอร์โทนิก
(Hypertonic solution)
ออสโมลาริตี้มากกว่า 310 m0sm/l
ความเข้มข้นมากกว่าน้ำนอกเซลล์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
ความหนืดของสารน้ำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
สายให้สารน้ำ
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด แน่นหรือตึงเกินไป
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
การปรับอัตราหยด
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ใน 1 นาที
ใน 1 ชั่วโมง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัด
เริ่มแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขาหลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
อุปกรณ์เครื่องใช้
ขวดสารน้ำ
ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย
(Peripheralinsertiondevices)
อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น เสาแขวนขวดให้สารน้ำ
อาการแทรกซ้อนจากการให้
สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เฉพาะที่
การบวม
ปวดแสบบริเวณที่บวมและไม่สุขสบาย
มีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
ปวดแสบ ปวดร้อน ไม่สุขสบาย ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม แดง
หลอดเลือดดำอักเสบ (Phlebitis)
ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวม มีไข้ร่วมด้วย
ติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection)
บวมแดง ร้อน บริเวณที่แทงเข็มมีหนอง
ระบบไหลเวียนของเลือด
แพ้ยาหรือสารน้ำ (Allergic reaction)
มีผื่นแพ้เกิดขึ้นที่ผิวหนัง น้ำมูกไหล
คันที่ผิวหนัง หายใจไม่สะดวก
ติดเชื้อในกระแสเลือด (Septicemia)
ไข้สูง หนาวสั่น ความดัน โลหิตลดลง คลื่นไส้ อาเจียน
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด (Airembolism)
หายใจลำบาก ฟังปอดได้ยิน Breath sounds ไม่เท่ากัน
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป (Circulatory overload)
ผู้ป่วยโรคหัวใจ เกิดหัวใจวาย
การใช้กระบวนการพยาบาล
ในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการบริหารยา
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการ
บริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้
ทดแทนน้าที่ร่างกายสูญเสียไป
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
โรคทางเดินอาหาร
โรคของอวัยวะต่างๆ
ภาวะทางศัลยกรรม
ความผิดปกติของจิตใจ
โรคมะเร็งต่างๆ
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดด้า
Total parenteral nutrition (TPN)
ให้โภชนบำบัดครบตามความต้องการ
ของผู้ป่วย มีความเข้มข้นสูงมาก
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
ให้โภชนบาบัดพลังงานไม่ครบตาม
ความต้องการ ความเข้มข้นไม่มาก
ตำแหน่งของการให้สารอาหาร
ทางหลอดเลือดดำ
หลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein) ไม่ยุ่งยาก
หลอดเลือดดำใหญ่ (central vein)
เพิ่มความเข้มข้นของน้ำตาลกลูโคสได้
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดด้า
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
ล้างมือให้สะอาด
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN
หรือ TPN สะอาดปราศจากเชื้อ
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไป
ในชุดให้สารอาหาร
ตรวจสอบ PPN หรือ TPN
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร
นำสารอาหารและสายยาง
ให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วย
ให้สารอาหารปรับจำนวนหยด
ตามแผนการรักษา
อาการแทรกซ้อนจากการ
ให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
บวม
อุณหภูมิของบริเวณนั้นจะเย็น
รู้สึกไม่สุขสบายบริเวณที่ให้
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ใน
ระบบไหลเวียนของเลือด
อาการเขียว
ให้สารอาหารมากเกินไป
(Circulatory overload)
ปวดศีรษะ หายใจตื้น และหอบเหนื่อย
ชีพจรเร็ว
ปริมาณน้ำเข้าและออก
(intake/output) ไม่สมดุล
ไข้
37.3 - 41 องศาเซลเซียส
การใช้กระบวนการพยาบาล
ในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการบริหารยา
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการ
บริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การใช้กระบวนการพยาบาล
ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสภาพผู้ป่วย (Assessment)
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการ
ให้สารอาหารทางหลอดเลือดด้า (Evaluation)
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve
รับจาก Rh-ve เท่านั้น
คนเลือดกรุ๊ป O
รับได้จาก O เท่านั้น
ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป AB
รับได้จากทุกกรุ๊ป
ให้เลือดกรุ๊ปAB
คนเลือดกรุ๊ป A
รับได้จาก A และ O
ให้ A และ AB
คนเลือดกรุ๊ป B
รับได้จาก B และ O
ให้กับ B และ AB
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
หนาวสั่น มีไข้ปวดศีรษะ ปวดหลังบริเวณเอว
กระสับกระส่าย ปัสสาวะ เป็นเลือด
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป
(Volume overload)
หายใจลาบาก ไอ เหนื่อยหอบ
ไข้ (Febrile transfusion reaction)
ไข้จะสูง 38.4 ° C ขึ้นไป ผิวหนังอุ่น แดงขึ้น ปวดศีรษะ คลื่นไส้
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)
มีผื่นคัน หรือลมพิษ อาการคั่งในจมูก
การถ่ายทอดโรค (Transfusion-associated graft versus host disease)
การอุดตันจากฟองอากาศ (Airembolism)
เจ็บหน้าอก หอบเหนื่อย เป็นลม ช็อค และถึงแก่กรรม
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
หัวใจทางานผิดปกติ
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ (Hyperkalemia)
คลื่นไส้อาเจียน ท้องเดิน กล้ามเนื้ออ่อนแรง
การใช้กระบวนการพยาบาล
ในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการบริหารยา
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
การบันทึกปริมาณน้ำเข้า - ออกจากร่างกาย
(Record Intake-Output)
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
อธิบายเหตุผล
ร่วมกับผู้ป่วย วางแผนกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
จดบันทึกจานวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้
จดบันทึกสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริม
ความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
การประเมินภาวะสุขภาพ
(Health assessment)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
(Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/ นาที)
= จำนวน Sol.(มล/ชม.) x จำนวนหยดต่อ(มล.) / เวลา(นาที)
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม.
= ปริมาตรของสารน้าที่จะให้ / จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง