Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
หลักการให้สารน้าทางหลอดเลือดดำ
2 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่ (Central venous therapy) เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central line ทางหลอดเลือดดำใหญ่ ๆ
ได้แก่ Subclavian vein, Internal &
External jugular veins และ Right & Left Nominate veins
3 การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง(Implanted vascular access device หรือ venous port) เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลวทางหลอดเลือดดาไว้ใต้ผิวหนัง โดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดาใหญ่
1 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral intravenous infusion) เป็นการให้
สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้นๆ
Piggy back IV Administration เป็นการให้สารน้ำขวดที่ 2 ซึ่งมีขนาดบรรจุ 25 – 250 มล.²
ต่อเข้ากับชุดให้สารน้ำขวดแรก
Heparin lock หรือ Saline lock เป็นการแทงเข็มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดาส่วนปลายและคาเข็มที่หล่อด้วยสารต้านการแข็งตัวของเลือดเจือจาง
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
การบริหารยาที่มีประสิทธิภาพโดยใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ
patient safety goals
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดด้า
การประเมินผลการบริหารยาฉีด เป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล โดย
1.1 ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goal
1.2 ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
“รู้สึกเป็นอย่างไรบ้าง? เจ็บหรือปวดบริเวณฉีดยาหรือไม่ ? อย่างไร ?”
1.3 ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม(โดยการสอบถามผู้ป่วย)
1.4 ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
2.1 ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
2.2 ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
3 การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนeมา
ปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
3.1ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ 2 อยู่ในคุณภาพระดับใด
3.2 ประเมินคุณภาพของการให้บริการ ข้อ 3 อยู่ในคุณภาพระดับใด
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
วิธีการฉีดยาแบบที่ 6 three ways กับ syringe IV push
เครื่องใช้
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml)
syringe IV push ยา พร้อมเข็มเบอร์ 23
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ถุงมือสะอาด, mask
วิธีการฉีดยา
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
มือซ้ายจับ three ways มือขวาหมุน ข้อต่อ three ways (ลูกศรชี้ไปทิศใดแสดงว่าเปิดวาวส์ช่องทางนั้น) ปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
ปลดเข็มออกจาก syringe ไล่อากาศออกให้หมด
เช็ด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% สวมปลาย trip ของ syringe เข้ากับthree ways หมุนให้แน่น มือขวาดึง plunger สังเกตเลือดออกมาหรือไม่ ?
three ways หมุนให้แน่น มือขวาดึง plunger สังเกตเลือดออกมาหรือไม่ ? (ถ้ามีเลือดออกมาแสดงว่า IV
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ three ways มือขวาเช็ด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%แล้วปรับข้อต่อ three ways ปิดด้าน side ที่ฉีดยา
เก็บของใช้เข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
วิธีการฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
เครื่องใช้
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml)
IV set พร้อมเข็มเบอร์ 23
สำลีชุแอลกอฮอล์ 70%
ถุงมือสะอาด, mask
วิธีฉีด
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
แขวน piggy back กับ เสาน้าเกลือ ปลดเข็มออกวางลงบนถาด เปิด clamp ให้น้ำยาไหลลงมาตาม set IV จนน้ำยาเต็มสายยาง ปิดclamp
มือซ้ายจับ surg plug ปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
เช็ด surg plug ด้วยสาลีชุบแอลกอฮอล์ 70% สวมปลาย set IV เข้ากับ surg plug เปิดclamp ปรับหยดยา 50 หยอด/นาที (คานวณหยดยาฉีด 100 ml ให้หมดใน 30 นาที)
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ surg plug มือขวาเช็ด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%ดึง set IV ออก เช็ด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% อีกครั้ง
วิธีการฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IV push
เครื่องใช้
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml)
syringe IV push ยา พร้อมเข็มเบอร์ 23
syringe 0.9 % NSS 3 ml พร้อมเข็มเบอร์ 23 จานวน 2 อัน
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ถุงมือสะอาด, Mask
วิธิการฉีด
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
มือขวาหยิบ syringe 0.9 % NSS ถอดปลอกเข็มวางบนถาด ไล่อากาศออกให้หมด
มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรงจุกยางของ IVplug ดึง plunger ดูว่ามีเลือดออกตามมาหรือไม่? ถ้ามีเลือดออกมาแสดงว่า IV catheter ยังแทงอยู่ในหลอดเลือด
ถอดปลอกเข็มของ syringe ไล่อากาศออกให้หมด มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe แทงเข็มตรงจุดยางของ IV plug มือขวาดัน plunger ฉีดยาช้า ๆ จนยาหมด
มือขวาดึง syringe ออก ปิดปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียว มือซ้ายเช็ดทาความสะอาด IV plugด้วยสำลีชุแอลกอฮอล์ 70%
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
เครื่องใช้
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml)
syringe IV push ยา พร้อมเข็มเบอร์ 23
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ถุงมือสะอาด, mask
วิธีการฉีด
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
มือซ้ายจับ surg plug ปลดเข็มออกจาก syringe ไล่อากาศออกให้หมด
สวมปลาย tip ของ syringe เข้ากับ surg plug หมุนให้แน่น มือขวาดึง plunger สังเกตเลือดออกมาหรือไม่ ? (ถ้ามีเลือดออกมาแสดงว่า IV catheter ) อยู่ในตำแหน่งของหลอดเลือดดำ ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำช้า ๆ จนยาหมด syringe
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ surg plug มือขวาดึง syringe ออก เช็ด surg plug ด้วยสำลีชุบ แอลกอฮอล์ 70% อีกครั้ง
วิธีการฉีดยาแบบที่ 1 IV plug กับ piggy back (100 ml)
เครื่องใช้
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml)
IV set ใช้ drip ยา พร้อมเข็มเบอร์ 23
syringe 0.9 % NSS 3 ml พร้อมเข็มเบอร์ 23 จานวน 2 อัน
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ถุงมือสะอาด, mask
วิธีการฉีด
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
แขวน piggy back กับเสาน้าเกลือ มือขวาหยิบ syringe 0.9 % NSS 3 ml ถอดปลอกเข็มวางลงบนถาด แล้วไล่อากาศออกให้หมด
มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรง จุกยางของIV plug ดึง plunger ดูว่ามีเลือดออกตามมาหรือไม่? ถ้ามีเลือดออกมาแสดงว่า IV catheter อยู่ในตำแหน่งของหลอดเลือดดำ
ถอดปลอกเข็มของ IV set ไล่อากาศออกให้หมด มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อยมือขวาจับแทงเข็มตรงจุดยางของ IV plug เปิด clamp ปรับหยดยา 50 หยด/นาที (คำนวณหยดของยาฉีด 100 ml ให้หมดใน 30 นาที)
เมื่อยาฉีดหมด ปิด clamp มือขวาดึงเข็มออก ปิดปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียว
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
เครื่องใช้
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml)
IV set พร้อมเข็มเบอร์ 23
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ถุงมือสะอาด, mask
วิธีการฉีด
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
แขวน piggy back กับ เสาน้ำเกลือ ปลดเข็มออกวางลงบนถาด เปิด clamp ให้น้ายาไหลลงมาตาม set IV จนน้ายาเต็มสายยาง ปิดclamp
มือซ้ายจับ three ways มือขวาหมุน ข้อต่อ three ways (ลูกศรชี้ไปทิศใดแสดงว่าเปิดวาวส์ช่องทางนั้น) ปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
เช็ด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% สวมปลาย set IV เข้ากับ three waysหมุนให้แน่น เปิด clamp ปรับหยดยา 50 หยด/นาที
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ three ways มือขวาเช็ด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%แล้วปรับข้อต่อ three ways ปิดด้านที่ฉีดยา
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการบริหารยา
วางแผนบริหารยาตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety
goals
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินสภาพผู้ป่วย
1.1 ระดับความรู้สึกตัว
1.2 ประวัติการแพ้ยา
1.3 พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
การประเมินสิ่งเเวดล้อม
3.1 ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
3.2 ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
3.3 ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย เช่น ตู้ข้างเตียง เหล็กกั้นเตียง เป็นต้น
3.4 บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
การประเมินด้านจิตใจ
2.1 ความพร้อมของการรับบริการฉีดยา
2.2 ความต้องการรับบริการฉีดยา
2.3 ความวิตกกังวลและความกลัว
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution) ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 m0sm/l ซึ่งค่า
Osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution) เป็นสารน้ำที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า
310 m0sm/l ซึ่งมีมากกว่าออสโมลาริตี้ของน้ำนอกเซลล์
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution) จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์
(Extracellular fluid) ซึ่งมีออสโมลาริตี้ระหว่าง 280-310 m0sm/l
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำหน่งของหลอดเลือดด้าที่จะแทงเข็ม
มีหหลักการดังนี้
1) เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถใช้แขนข้างที่ถนัดทำอย่างอื่นได้
2) ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน เพื่อให้หลอดเลือดดำ ส่วนที่ถัดเข้ามาสามารถใช้งานได้อีก
3) ตรวจสอบบริเวณตาแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม เช่น ไม่มีเเผล
4) ถ้าจาเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
5) หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ เพราะจะทำให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย หรือถ้าจำเป็นต้องแทงบริเวณข้อพับให้ใช้ไม้ดามป้องกันการงอพับ
ุ6) คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ขวดสารน้ำ โดยขวดสารน้า/ยา ต้องเตรียมให้ตรงกับใบสั่งการรักษาและตรวจสอบดูว่าสภาพขวดสารน้ำ/ยา
2) ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set) ใช้เป็นทางผ่านของสารน้ำจาก
ขวดไปสู่หลอดเลือดดำของผู้ป่วยบรรจุในซองที่ปิดผนึกมิดชิดผ่านการฆ่าเชื้อ
4) อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น เสาแขวนขวดให้สารน้ำ ยางรัดแขน แผ่นโปร่งใสปิดตาแหน่งที่แทงเข็ม
3) เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral insertion devices) ทาด้วยเทฟล่อนนิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน มีหลายขนาดตั้งแต่เบอร์ 14, 16, 18, 20, 22 และ 24
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ใช้หลักการ 6 Right
ใช้หลักความปลอดภัย SIMPLE
วัตถุประสงค์
ให้สารน้ำทดแทนน้าที่สูญเสียจากร่างกาย เช่น ท้องเสีย
ให้สารน้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกายในรายที่ไม่สามารถรับประทานได้ทางปาก
ให้ยาบางชนิดที่ไม่สามารถดูดซึมทางระบบทางเดินอาหาร หรือยารับประทานที่จะถูกทาลำยโดยน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
รักษาสมดุลของกรด-ด่างในร่างกาย ในรายที่มีภาวะเสียสมดุลกรด–ด่าง
ใช้เป็นช่องทางในการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดา ติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยให้ปริมาณของยาในกระแสโลหิตอยู่ในระดับสม่ำเสมอกัน
แก้ไขความดันโลหิต โดยการให้สารละลายที่มีความเข้มข้นมากกว่าน้ำในร่างกาย
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
วิธีการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา และเขียนชื่อนามสกุลของผู้ป่วย ชนิดของสารน้ำ วัน เวลาที่เริ่มให้อัตรา การหยดของสารน้ำ ลงในแผ่นฉลากปิดข้างขวดเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารน้าในปริมาณที่ถูกต้องสอดคล้องกับเเผนการรักษา
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบรายชื่อนามสกุล เตียงผู้ป่วยให้ตรงกับป้ายข้อมือผู้ป่วย
บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้ เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจ
ล้างมือให้สะอาด
ดึงแผ่นโลหะที่ปิดขวดสารน้าหรือฝาครอบที่ปิดถุงน้ำพลาสติกออก
เช็ดจุกยางที่ขวดหรือถุงสารน้าด้วยสาลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ต่อ IV set กับ IV fluid
ต่อ three ways กับ extension tube แล้วมาต่อกับ IV set
ปิด clamp ที่ IV set
แขวนขวด IV fluid เสาน้าเกลือแขวนให้สูงประมาณ 1 เมตร (3 ฟุต) จากผู้ป่วย
บีบ chamber ของ IV set ให้ IV fluid ลงมาในกระเปาะประมาณ ½ ของกระเปาะ (อย่าให้มากหรือน้อยเกินไป เพราะถ้ามากเกินไปจะไม่สามารถนับจำนวนหยดของ IV ได้ หรือถ้าน้อยเกินไปจะทาให้มีอากาศเข้าไปในสาย
12.การเตรียมผิวหนังเเละการเเทงเข็มให้สารน้ำ
12.1 เลือกตำแหน่งที่จะแทง IV cath.
12.2 รัด tourniquet เหนือตำแหน่งที่ต้องการแทงเข็ม ประมาณ 2-6 นิ้ว เพื่อให้เห็นหลอดเลือดดาชัดเจน
12.3 สวมถุงมือสะอาดและ mask
12.4 ทำความสะอาดผิวหนังตำแหน่งที่จะแทงเข็มด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์70% เช็ดจากบนลงล่าง ทิ้งไว้ 1 นาที รอแอลกอฮอล์แห้ง
12.5 ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ของมือซ้ายตรึงผิวหนังตำแหน่งที่จะแทง IV cath.
12.6 เตรียม IV cath. ประกอบด้วย ท่อพลาสติก (catheter) และเข็มเหล็ก (stylet) เพื่อใช้เป็นตัวนาในการแทงผิวหนัง
อุปกรณ์
intravenous fluid (IV fluid) ตามแผนการรักษา
intravenous catheter (IV cath.) เบอร์ 22/ 24
intravenous set (IV set)
tourniquet
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
extension tube
three ways
IV stand (เสาน้าเกลือ)
พลาสเตอร์ หรือ พลาสเตอร์ใสสำเร็จรูป (transparent)
แผ่นฉลากชื่อ
ถุงมือสะอาด mask
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการให้สารน้าทางหลอดเลือดดำ เป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล โดยหลักการ 6 Rightsและหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
1.1 ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตาม
1.2 ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย (โดยการสอบถามผู้ป่วย)“รู้สึกเป็นอย่างไรบ้าง? เจ็บหรือปวดบริเวณเข็มน้ำเกลือหรือไม่”
1.3 ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม (โดยการสอบถาม
1.4 ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุง
2.1 ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
2.2 ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุง
3.1 ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ 2 อยู่ในคุณภาพระดับใด
3.2 ประเมินคุณภาพของการให้บริการ ข้อ 3 อยู่ในคุณภาพระดับใด (โดยการให้คะแนนระดับดีมาก-ดี-ปานกลาง-ปรับปรุง)
การหยุดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
อุปกรณ์
1) สำลีปลอดเชื้อ หรือก๊อซปลอดเชื้อ
2) พลาสเตอร์
3) ถุงมือชนิดใช้แล้วทิ้ง
วิธีปฏิบัติ
1) ปิด clamp
2) แกะพลาสเตอร์ที่ปิดยึดหัวเข็ม และสายให้สรน้าออกทีละชิ้น ระวังอย่าให้เข็มถูกดึงรั้งออกทางผิวหนัง
3) สวมถุงมือเพื่อไม่ให้เลือดสัมผัสกับมือพยาบาล
4) ดึงเข็มที่ให้สารน้ำออกทางผิวหนังตามแนวที่แทงเข็มด้วยความนุ่มนวล
5) ใช้สำลีแห้งหรือก๊อซปลอดเชื้อกดทับที่ตาแหน่งที่ดึงเข็มออกหรือยึดติดด้วย พลาสเตอร์ และปิดไว้นาน 8 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการติดเชื้อจนกว่าเลือดจะหยุด
6) เก็บชุดให้สารน้ำและเข็มที่แทงให้เรียบร้อย
7) บันทึกในบันทึกทางการพยาบาลวัน เวลาและเหตุผลของการหยุดให้สารน้ำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ประเมินด้านจิตใจ
1 ความพร้อมของการรับบริการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
2 ความต้องการรับบริการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
3 ความวิตกกังวลและความกลัว
ประเมินด้านสิ่งเเวดล้อม
1 ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
2 ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
3 ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย เช่น ตู้ข้างเตียง เหล็กกั้นเตียง เป็นต้น
4 บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
ประเมินด้านร่างกาย
1 ระดับความรู้สึกตัว
2 พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
การประเมินแผนการรักษา
1 ตรวจสอบแผนการรักษา
2 ตรวจสอบชนิดของสารน้ำตามแผนการรักษา ชนิด ปริมาณ อัตรา และเวลา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
เกลียวปรับบังคับหยด
สายให้สารน้ำ
ขนาดของข็มที่เเทงเข้าหลอดเลือด
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
ความหนืดของสารน้ำ
การปรับอัตราหยดผู้ป่วย
ระดับขวดสารน้ำ
การเคลื่อนย้าย เเละการเคลื่อนไหวร่างกายผู้ป่วย
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะเเทรกซ้อที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
1) การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอก หลอดเลือดดำ (Infiltration) เกิดอาการบวมบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำ ผู้ป่วยรู้สึกปวดแสบบริเวณที่บวม สารน้ำที่ให้หยดช้าลงหรือไม่ไหล
2) การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม (Extravasations) บริเวณที่แทงเข็มบวมและมีเลือดแทรกซึมใต้ผิวหนัง ผู้ป่วยรู้สึกปวดแสบ ปวดร้อน ไม่สุขสบาย ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
3) การติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection) บวมแดง ร้อน บริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำอาจจะมีหนองบริเวณที่เเทงเข็ม
4) หลอดเลือดดาอักเสบ (Phlebitis) ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวม ตำแหน่งที่แทงเข็มแดงร้อนไปตามแนวของหลอดเลือด หลอดเลือดดาที่ให้สารน้ำเป็นลำแข็ง บางครั้งอาจมีไข้ร่วมด้วย
การพยาบาล
1) หยุดให้สารน้ำ จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
2) ประคบด้วยความร้อนเปียก
3) เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
4) รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
5) จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย เพื่อลดอาการบวม
6) ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
1) การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ (Allergic reaction) มีผื่นแพ้เกิดขึ้นที่ผิวหนัง ถ้าอาการร่วมกับอาการแพ้ต่างๆอาจช็อคได้
2) การติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia หรือ Septicemia) มีไข้สูง หนาวสั่น ความดันโลหิตลดลง คลื่นไส้ อาเจียน บางครั้งมีอาการถ่ายเหลว มีการติดเชื้อเฉพาะที่เกิดร่วมด้วย
3) เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด (Air embolism) เกิดจากการไล่ฟองอากาศในชุดสายให้สารน้ำไม่หมด
4) ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป (Circulatory overload)
การพยาบาล
1) หยุดให้สารน้ำ
2) เปลี่ยนขวดให้สารน้ำ กรณีผู้ป่วยมีการแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ หรือมีการติดเชื้อ
3) ให้การช่วยเหลือตามอาการ เช่น ให้ ออกซิเจนในกรณีที่ผู้ป่วยหายใจไม่ออก แล้วรีบรายงาน ให้แพทย์ทราบ เพื่อให้การรักษา
4) วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
5) เตรียมรถ Emergency ในการช่วยเหลือเร่งด่วน
6) รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
7) ส่งเลือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
8) ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
9) ดูแลให้ออกซิเจน
10) จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะต่ำกรณีความดันโลหิตต่ำ หรือจัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงกรณีความดันโลหิตสูง
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำ
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ หาร
จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/ นาที) = จำนวน Sol.(มล/ชม.) x จำนวนหยดต่อมล.) หาร เวลา(นาที)
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
จะให้ในกรณีดังนี้
1) โรคทางเดินอาหาร
2) โรคของอวัยวะต่างๆ เช่น ภาวะไตวาย โรคหัวใจแต่กำเนิด
3) ภาวะทางศัลยกรรม เช่น ถูกน้าร้อนลวก ภายหลังการผ่าตัด
4) ความผิดปกติของจิตใจ เช่น anorexia nervosa
5) โรคมะเร็งต่างๆ เช่น มะเร็งกระเพาะอาหาร
ส่วนประกกอบของสารอาหาร
คาร์โบไฮเดรต นิยมใช้ในรูปของกลูโคส ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ต่อ 1 กรัม
สารละลายไขมัน (fat emulsion) ให้พลังงาน 9 กิโลแคลอรี่ต่อ 1 กรัม
โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ต่อ 1 กรัม ใช้กรดอะมิโนทุกชนิดทั้งที่
วิตามิน ให้ทั้งชนิดละลายในน้ำ และชนิดละลายในไขมัน
เกลือแร่ ก่อนที่จะเริ่มให้สารอาหารควรมีการคำนวณจำนวนเกลือแร่ให้เรียบร้อยก่อน
น้ำให้คำนวณจำนวนน้ำที่จะให้แก่ผู้ป่วยตามน้ำหนักตัว
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดด้า
Total parenteral nutrition (TPN) เป็นการให้โภชนบำบัดครบตามความต้องการของผู้ป่วย
ทั้งปริมาณพลังงานที่ต้องการ และสารอาหารทุกหมู่
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
เป็นการให้โภชนบาบัดทางหลอดเลือดดำ
เพียงบางส่วน อาจได้พลังงานไม่ครบตามความต้องการ หรือได้สารอาหารไม่ครบทุกหมู่
ตำเเหน่งที่ให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดดาใหญ่ (central vein) สามารถเพิ่มความเข้มข้นของน้าตาลกลูโคสได้
ถึงร้อยละ 20-25
การให้ทางหลอดเลือดดาแขนง (peripheral vein) ข้อดีของการให้วิธีนี้คือไม่ยุ่งยากมีข้อจากัดคือ ไม่สามารถให้น้ำตาลกลูโคสมากกว่าร้อยละ 10 ของสารละลาย
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบเเละญาติทราบ
ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้ง สวมmask
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือ TPN ที่สะอาดปราศจากเชื้อ และเตรียมชุดให้สารอาหารให้พร้อม โดยการเช็ดทำความสะอาดจุดปิดขวดสารอาหารด้วยสาลีปราศจากเชื้อชุด แอลกอฮอล์ 70%
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร ปิดผ้าก๊อซปราศจากเชื้อบริเวณรอยต่อโดยใช้เทคนิคปราศจากเชื้อ
ตรวจสอบ PPN หรือ TPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิดและปริมาณของสารอาหารอัตราหยดต่อนาที วันและเวลาที่เริ่มให้ วันและเวลาที่สารอาหารหมด ชื่อผู้เตรียมสารอาหาร
นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วยโดยเช็ดบริเวณรอยต่อด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ ปิดด้วยผ้าก๊อซปราศจากเชื้อ
ให้สารอาหารปรับจานวนหยดตามแผนการรักษา
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย (Assessment)
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ (Evaluation)
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ไข้ (pyrogenic reactions) เกิดจากมีสารแปลกปลอมซึ่งเป็นส่วนประกอบของโปรตีนเข้าสู่
กระแสเลือด
การหยุดให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
เมื่อไม่มีความจำเป็นที่จะให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำให้งด สารละลายไขมันได้ทันที และลดความเข้มข้นของน้ำตาลกลูโคส และกรดอะมิโนลง รวมทั้งเกลือแร่ต่างๆ ด้วย ในขณะเดียวกันก็เพิ่มอาหารที่ให้ทางปาก
การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload) พบได้ง่ายในผู้ป่วยเด็ก ผู้ที่มีปัญหาของ
ระบบไหลเวียนเลือด และไต อาจเนื่องจากให้สารอาหารที่เร็วเกินไป
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด (Embolism) ที่พบบ่อยจะเป็นก้อนเลือด
(thromboembolism) และอากาศ (air embolism)
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง (Local infiltration) เกิดขึ้นเมื่อเข็มเคลื่อน
ออกจากหลอดเลือด พบได้บ่อยในหลอดเลือดที่เล็ก บาง หรือผู้ป่วยที่มีกิจกรรมมากๆ