Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.3 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle…
บทที่ 4.3 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้สารน้าทางหลอดเลือดด้า
ทางหลอดเลือดด้าส่วนปลาย
Heparin lock หรือ Saline lock
ครั้งเป็นคราว
Piggy back IV Administration
ทางหลอดเลือดด้าใหญ่
ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถ
รับประทานอาหาร
ทางหลอดเลือดด้าใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
เป็นระยะ ๆ
การเลือกต้าแหน่ง
ไม่ถนัดก่อน
ส่วนปลายของแขน
ตรวจสอบบริเวณตาแหน่งที่
หลีกเลี่ยง
การแทงเข็มให้สารน้าในผู้ผูกยึดแขนและขา
ข้อพับต่าง ๆ
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ขวดสารน้า
2) ชุดให้สารน้า (IV Administration set)
2 แบบ
Regular or macro drip
administration set :
Micro drip administration set)
กรณีต้องการให้สารน้า 2 ขวดในเวลาเดียวกัน ต้องใช้หัวต่อ 3 ทาง
3) เข็มที่ใช้แทง
Butterfly or Scalp vein
เหมาะในระยะสั้น ๆ และบริเวณศีรษะเด็กเล็ก
เข็มพลาสติก
เหมาะสาหรับให้สารน้าแก่ผู้ป่วยที่เคลื่อนไหวตัวมาก
4) อุปกรณ์อื่น ๆ
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้า
ระดับขวดสารน้า
ความหนืดของสารน้า
ขนาดของเข็ม
เกลียวปรับ
สายให้สารน้า
ยาว
หัก พับ
ถูกกด
การผูกยึดหรือการทับบริเวณหลอดเลือด
7.การเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
การปรับอัตราหยด
การค้านวณอัตราการหยด
อัตราหยดใน1 นาที
จานวน Sol.(มล/ชม.) x จานวนหยดต่อมล.)/
เวลา(นาที)
ปริมาตรสารน้ำใน1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้าที่จะให้/
จานวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
อาการแทรกซ้อน
Local complication
มี
ติดเชื้อ
การบวม
เลือดออก
หลอดเลือดดาอักเสบ
การพยาบาล
หยุดให้สารน้า
ประคบ
เปลี่ยนที่
รายงาน
จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลาตัว
ส่งหนองเพาะเชื้อ
ระบบไหลเวียนของเลือด
มี
Allergic reaction
Septicemia
Air embolism
หายใจลำบาก
Breath sounds ไม่เท่ากัน
ชีพจรเบาเร็ว
อื่นๆ
Circulatory overload
การพยาบาล
หยุดให้สารน้า
เปลี่ยนขวด
ดูการเปลี่ยนแปลงรายงานแพทย์
เตรียมรถ emergency
นำเลือดและหนองไปเพาะ
จัดท่า
อาการเขียว
การพยาบาลและการป้องกัน
ห้ามนวดคลึง
การให้สารอาหารมากเกินไป
การพยาบาลและการป้องกัน
ปรับอัตราหยดให้ช้าที่สุด
บันทึกสัญญาณชีพ
จัดท่าผู้ป่วย
ไข้
ปฏิกิริยาภูมิแพ้(รับ-ให้เลือด)
การถ่ายทอดโรค(รับ-ให้เลือด)
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ(รับ-ให้เลือด)
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ(รับ-ให้เลือด)
กระบวนการพยาบาล
ให้สารน้า
การประเมินสภาพผู้ป่วย
การวางแผน
ข้อวินิจฉัย
การให้สารน้า
ปรับอัตรา
6 hr= 40 drop/min..
8 hr.= 30 drop/min.
10 hr25 drop/min.
12 hr=20 drop/min..
24 hr.= 10 drop/min.
การประเมินผล
ผลลัพธ์ทางการพยาบาล
กิจกรรม
บริการ
การฉีดยาเข้าหลอดเลือด้า
การประเมินสภาพผู้ป่วย
การแพ้ยา
ข้อวินิจฉัย
การวางแผน
วิธีการฉีดยา
1 IV plug กับ piggy back (100 ml)
2 IV plug กับ syringe IV push
3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
4 Surg plug กับ syringe IV push
5 three ways กับ piggy back (100 ml)
6 three ways กับ syringe IV push
การประเมินผล
การให้สารอาหารทางหลอดเลือด้า
การประเมิน
ข้อวินิจฉัย
มีโอกาสเกิดหลอดเลือดดาอักเสบ
โอกาสเกิดสิ่งแปลกปลอม
การวางแผน
การปฏิบัติการ
ประเมินผล
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
ข้อวินิจฉัย
การวางแผนใ
การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
การดูแลผู้ป่วยภายหลังได้รับเลือด
ตรวจสอบสัญญาณชีพหลังการให้เลือด 15 นาที และต่อไปทุก 4 ชั่วโมง
สังเกตปฏิกิริยา
ดูแลให้ผู้ป่วย
บันทึก
การปฏิบัติเมื่อพบอาการแทรกซ้อน
การประเมินผล
การส่งเสริมความสมดุลของสารน้าในร่างกาย
ประเมินภาวะสุขภาพ
ข้อวินิจฉัย
การวางแผนก
ไม่เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบที่รุนแรงขึ้น
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผล
อาการปวด
อาการหลอดเลือดดาอักเสบ
ปริมาณสารน้าเข้าและออกมีความสมดุล
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดด้า
ข้อบ่งชี้
1) โรคทางเดินอาหาร
2) โรคของอวัยวะต่างๆ
3) ภาวะทางศัลยกรรม
4) ความผิดปกติของจิตใจ เช่
5) โรคมะเร็งต่างๆ
ชนิด
สารน้ำ
Hypertonic solution
ได้แก่
5% Dextrose in half-normal
saline,
7.5% Sodium chloride
เป็นต้น
มากกว่า
310 m0sm/l
ดึงน้าจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน
(Isotonic solution)
280-310 m0sm/l
ช่วยเพิ่มปริมาตรของน้าที่อยู่นอก
เซลล์
ได้แก่
5% Dextrose in water
Normosol
Lactated Ringer’s
เป็นต้น
Hypotonic solution)
น้อยกว่า 280 m0sm/l
ต้องให้อย่างช้า ๆ
ได้แก่
½
Normal saline,
2.5% Dextrose in water
เป็นต้น
สารอาหาร
TPN
PPN
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น
O รับได้จาก O เท่านั้นแต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
AB รับได้จากทุกกรุ๊ป แต่ให้ได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB
A รับได้จาก A และ Oให้ได้กับ A และ AB
B รับได้จาก B และ Oให้ได้กับ B และ AB
การบันทึกปริมาณน้าเข้า-ออกจากร่างกาย
หลักการบันทึก
เป็นการป้องกัน
การเกิดภาวะเสียสมดุลของสารน้าและอิเลคโตรไลท์ในร่างกาย
ช่วยในการประเมินอาการแทรกซ้อนที่