Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 - Coggle Diagram
บทที่ 5
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา ๑
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา ๒
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓
สุขภาพ
ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม
ปัญญา
รู้เท่าทัน แยกดี ชั่วได้ ประโยชน์ และโทษได้
ระบบสุขภาพ
ระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่ เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
บริการสาธารณสุข
บริการที่ป้องกัน ควบคุมโรค ตรวจรักษา และฟื้นฟู
มาตรา ๔
นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวง สาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด ๑ สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา ๕
มีสิทธิในการดํารงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
มาตรา ๗
ข้อมูลสุขภาพต้องปิดเป็นความลับ ผู้ใดจะเผยแพร่มิได้ เว้นแต่เจ้าตัวจะยินยอม
มาตรา ๖
สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและสุขภาพ ของระบบเจริญพันธุ์ซึ่งมีความจําเพาะ
ต้องได้รับการสร้างเสริม และคุ้มครองอย่าง สอ
ดคล้องและเหมาะสม
มาตรา ๘
แจ้งข้อมูลอย่างเพียงพอ เพื่อประกอบในการตัดสินใจ
มาตรา ๙
ใช้ในการวิจัย ต้องแจ้งให้ทราบและต้องมีหนังสือให้ความยินยอม
มาตรา ๑๐
ต้องเปิดเผย ข้อมูลนั้นและวิธีป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพให้ประชาชนทราบและ จัดหาข้อมูลให้โดยเร็ว
มาตรา ๑๑
กิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพของตนหรือของชุมชนและแสดง ความเห็นของตนในเรื่องดังกล่าว
มาตรา ๑๒
บุคคลมีสิทธิทําหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียง เพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้
หมวด ๒ คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๑๓ ให้มีคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรียกโดยย่อว่า “คสช.”
มาตรา ๑๔
กรรมการตามมาตรา ๑๓ มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มีสัญชาติไทย อายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์ ไม่ติดยาเสพติดให้โทษ
ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยถึงไล่ออก ไม่เคยจำคุก
มาตรา ๑๕
การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓
คณะกรรมการสรร หาจะจัดให้มีการประชุมเพื่อเลือกกันเอง
มาตรา ๑๖
การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓
การประกอบโรคศิลปะกําหนด
มาตรา ๑๗
การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓
ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการสรรหาประกาศกําหนด
มาตรา ๑๘
การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓
ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่คณะกรรมการสรรหาประกาศกําหนด
มาตรา ๑๙
ให้มีคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่ง ซึ่ง คสช. แต่งตั้ง
เลขาธิการเป็นเลขานุการคณะกรรมการสรรหา
มาตรา ๒๐
ให้คณะกรรมการสรรหามีหน้าที่และอํานาจ
กําหนดวิธีการ และแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
มาตรา ๒๑
มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสี่ปี
มาตรา ๒๒
พ้นจากตําแหน่งเมื่อพ้นจากตําแหน่งตามที่ระบุไว้ ในมาตรา ๑๕ แล้วแต่กรณี
มาตรา ๒๓ พ้นตำแหน่ง คือ ตายและลาออก
มาตรา ๒๔
ให้เป็นไปตามระเบียบที่ คสช. กําหนด
มาตรา ๒๕
คสช. มีหน้าที่ข้อเสนอแนะหรือคํา ปรึกษาเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ ด้านสุขภาพตาม
หมวด ๓ สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๒๖
ให้สํานักงานมีฐานะเป็นนิติบุคคลและอยู่ในกํากับของ นายกรัฐมนตรี
มาตรา ๒๗
ให้สํานักงานมีหน้าที่และอํานาจ
รับผิดชอบงานธุรการของ คสช.
ประสานงานกับหน่วยงานด้านนโยบายและยุทธศาสตร์
มาตรา ๒๘
รายได้ของสํานักงาน
เงินอุดหนุนทั่วไป บริจาคเงิน หรือทรัพย์สินอื่นที่ตกเป็นของสํานักงาน
มาตรา ๒๙
ทรัพย์สินของสํานักงานไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี และบุคคลใดจะยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้สํานักงานในเรื่องทรัพย์สิน ของสํานักงานมิได้
มาตรา ๓๐
การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของสํานักงานให้ เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการบริหารกําหนด
มาตรา ๓๑
ให้มีเลขาธิการคนหนึ่งเป็นผู้รับผิดชอบการ บริหารงานของสํานักงานขึ้นตรงต่อ คสช. มีหน้าที่ควบคุมดูแลโดยทั่วไป ซึ่งงานของสํานักงาน
มาตรา ๓๒
ให้เลขาธิการมีวาระการดํารงตําแหน่ง คราวละสี่ปีและอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะ
ดํารงตําแหน่งเกินสองวาระติดต่อกัน มิได้
มาตรา ๓๓
พ้น ตำแหน่ง ตาย ลาออก จำคุก
มาตรา ๓๔
เลขาธิการมีหน้าที่และอํานาจ คือ วางแผนงาน บริหาร
มาตรา ๓๕ และ ๓๖
เงินเดือนแล้วแต่กำหนด และให้เลขาเป็นผู้แทน
มาตรา ๓๗ ๒๘ ๒๙
คสช. ตั้งคณะกรรมการบริหาร ระเบียบตาที่กำหนด มีหน้าที่กำหนดนโยบาย อนุมัติแผนการหลัก ออกข้อบังคับ
หมวด ๔ สมัชชาสุขภาพ
มาตรา ๔๐
สมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คสช. กําหนด
มาตรา ๔๑
จัดให้มีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติอย่างน้อย ปีละหนึ่งครั้ง
มาตรา ๔๓ ๔๔ ๔๕ คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติจัดงานประชุม การเข้าร่วมต้องลงทะเบียน ถ้ามีข้อเสนอให้รัฐบาลนำไปปฏิบัติ
หมวด ๕ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๔๖ ๖๗ ๖๘ ให้คสช. จัดทําธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพ แห่งชาติ ต้องไม่ขัดรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทย และต้องผ่านความเห็นชอบ
หมวด ๖ บทกําหนดโทษ
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๗ หรือมาตรา ๙ ต้องระวางโทษ
จําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕
พระราชบัญญัติ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕
มาตรา ๑ ๒ ๓ ๔
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
สถานบริการ หน่วยบริการ ค่าตอบแทน
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มีอำนาจ ออกกฏกระทรวง
หมวด ๑ สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
มาตรา ๕ ๖ ๗
ทุกคนได้รับสิทธิ ยื่นลงทะเบียนที่หน่วยบริการประจำ ลงทะเบียนแล้วให้ใช้สิทธิที่หน่วยบริการประจำ
มาตรา ๘ ๙ ๑๐
อาจเข้ารับบริการครั้งแรกที่ หน่วยบริการใดก็ได้ และลงทะเบียนได้เลย
ให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ ประกาศ มติคณะรัฐมนตรีหรือคําสั่งใดๆ ที่กําหนดขึ้นสําหรับส่วนราชการ
ขอบเขตของสิทธิรับบริการสาธารณสุขของผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยประกันสังคมให้ เป็นไปตามที่กําหนดในกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม
มาตรา ๑๑ ๑๒
ลูกจ้างซึ่งมีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทนผู้ใดใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการตามพระราชบัญญัติ
ประสบภัยจากรถตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถผู้ใดใช้ สิทธิรับบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด ๒ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗
"คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ"
จะดํารงตําแหน่งกรรมการตามมาตรา ๔๘ ในขณะเดียวกันมิได้
มีวาระอยูุในตําแหน่งคราวละสี่ปี
พ้นตําแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๕ ตาย ลาออก ล้มละลาย
ประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวน กรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒
มีอํานาจหน้าที่ กําหนดมาตรฐาน ให้คำแนะนำ
ให้คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่ควบคุมดูแลสํานักงานให้ดําเนินกิจการให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้
คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการตรวจสอบขึ้นคณะหนึ่งมีอํานาจหน้าที่ ตรวจสอบการบริหารเงินและการดําเนินงานของสํานักงาน
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้คณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ แล้วแต่กรณี
หมวด ๖ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา ๔๘ ๔๙ ๕๑ ๕๒ ๕๓
คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน บริการสาธารณสุข
การดํารงตําแหน่ง วาระการดํารงตําแหน่ง การพ้นจากตําแหน่งและการประชุมของ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน
คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อ พิจารณาหรือปฏิบัติตามที่คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานมอบหมายได้
ให้คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน และคณะอนุกรรมการมีอํานาจขอให้ หน่วยงานของรัฐหรือสั่งให้บุคคลใดที่เกี่ยวของมีหนังสือชี้แจงข้อเท็จจริง
ให้กรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานและอนุกรรมการได้รับค่าเบี้ยประชุม ค่าใช้จ่ายในการเดินทางและค่าใช้จ่ายอื่น
หมวด ๗ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๕๔ ๕๕ ๕๖
ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจําตัวแก่บุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง
บัตรประจําตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามแบบที่รัฐมนตรีกํหนด
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตาม ประมวลกฎหมายอาญา
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจเข้าไปใน สถานที่ของหน่วยบริการ
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๖๕ ๖๕ ๖๖ ๖๗ ๖๘ ๖๙ ๗๐
ข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วนราชการใดสมัครใจจะเปลี่ยนไปเป็นเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้าง ของสํานักงาน
ให้โอนกิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้ และความรับผิด รวมทั้งเงินงบประมาณของกระทรวง สาธารณสุข
หมวด ๙ บทกําหนดโทษ
มาตรา ๖๓
ผู้ใดฝ่าฝื่นไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการ คณะกรรมการสอบสวน หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๒๒ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๔ หรือมาตรา ๕๗
มาตรา ๖๔
ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อํานวยความสะดวกตามสมควรแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติ หน้าที่ตามมาตรา ๕๕ วรรคสาม ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
หมวด ๕ หน่วยบริการและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗
ให้สํานักงานจัดให้มีการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ
ให้หน่วยบริการมีหน้าที่ คือ ให้บริการสาธารณสุข และให้ข้อมูลต่างๆ
หน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการตามมาตรา ๔๔ และหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ ผู้รับบริการ มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากกองทุนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ คณะกรรมการกําหนด
เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับบุคคลในพื้นที่
หมวด ๔ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓
ให้ตั้ง "กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ"
กองทุนประกอบด้วย
เงินที่ได้รับจากงบประมาณรายจ่ายประจําป
เงินค่าปรับทางปกครองตามพระราชบัญญัตินี้
การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงินกองทุน รวมทั้งการนําเงินกองทุนไปจัดหา ผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด
ให้คณะกรรมการกันเงินจํานวนไม่เกินร้อยละหนึ่งของเงินที่จะจ่ายให้หน่วยบริการไว้เป็น เงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ผู้รับบริการ
ในกรณีที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วยบริการ
หมวด ๓ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙
ให้สํานักงานมีอํานาจหน้าที่ เก็บรวบรวมข้อมูล จัดให้มีทะเบียนผู้รับบริการ บริหารกองทุน ฯลฯ
ทรัพย์สินของสํานักงานไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
ให้สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานคร หรือในเขตจังหวัดใกล้เคียง
บรรดาอสังหาริมทรัพย์ที่สํานักงานได้มาโดยมีผู้บริจาคให
ให้มีสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นหน่วยงานของรัฐมีฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ภายใต้การกํากับดูแลของรัฐมนตรี
ให้คณะกรรมการเสนอขอรับงบประมาณรายจ่ายประจําปีต่อคณะรัฐมนตรี
มาตรา ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗
ให้เลขาธิการมีวาระอยู่ในตําแหน่งคราวละสี่ปี และอาจำได้รับแต่งตั้งอีก
ให้เลขาธิการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเป็นผู้ดํารงตําแหน่งระดับสูง
เลขาธิการพ้นจากตําแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก ฯลฯ
เลขาธิการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ
ต้องห้าม ต้องมีสัญชาติไทย ทำงานเต็มเวลา ฯลฯ
ให้สํานักงานมีเลขาธิการเป็นผู้รับผิดชอบการบริหารกิจการของสํานักงานให้เป็นไปตาม กฎหมาย ระเบียบ
เลขาธิการมีอํานาจหน้าที่ บรรจุ แต่งตั้ง เลือก และออกกฎระเบียบ
ให้มีสํานักตรวจสอบขึ้นในสํานักงานทําหน้าที่เป็นสํานักงานเลขานุการของ คณะอนุกรรมการตรวจสอบ
หมวด ๘ การกํากับมาตรฐานหน่วยบริการ
มาตรา ๕๗ ในกรณีที่สํานักงานตรวจสอบพบว่าหน่วยบริการใดไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการ ให้บริการสาธารณสุขที่กําหนด
มาตรา ๕๘
ในกรณีที่ผลการสอบสวนตามมาตรา ๕๗ ปรากฏว่าหน่วยบริการใดไม่ปฏิบัติตาม มาตรฐานที่กําหนด
มาตรา ๕๙
ในกรณีที่ผู้รับบริการผู้ใดไม่ได้รับความสะดวกตามสมควรหรือตามสิทธิที่จะได้รับ บริการสาธารณสุขที่กําหนดตามพระราชบัญญัติ
มาตรา ๖๐
เป็นการกระทํา ผิดร้ายแรงหรือเกิดซ้ําหลายครั้ง ให้เลขาธิการรายงานต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานเพื่อพิจารณา ดําเนินการ
มาตรา ๖๑
ผู้ร้องเรียนหรือหน่วยบริการที่ได้รับคําสั่งจาก คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและ มาตรฐานตามหมวดนี้
มาตรา ๖๒
เมื่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์คําสั่งตามมาตรา ๖๑ ผลเป็นประการใดแล้ว