Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้าเลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้าเลือดและส่วนประกอบของเลือด
1. หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่(Central venous therapy)
3.การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง(Implantedvascular access device หรือvenousport)
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
Heparin lockหรือ Saline lockเป็นการแทงเข็มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลายและคาเข็มที่หล่อด้วยสารต้านการแข็งตัวของเลือด (Heparin)
Piggyback IV Administration
2. ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไฮโปโทนิก(Hypotonic solution)
3.สารละลายไฮเปอร์โทนิก(Hypertonic solution)
1.สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
3. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
4.เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
5.สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด จะทำให้สารน้ำผ่านไม่สะดวก
3.ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
6.การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
2.ความหนืดของสารน้ำ
7.การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
1.ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น
4. การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย(หยด/นาที)= จำนวนSol.(มล/ชม.)xจำนวนหยดต่อมล.) / เวลา(นาที)
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ / จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
5 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1.การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
3)ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
4)ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขาให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
2) ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขน
5)หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่างๆ
1) เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัด
6)คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
2.อุปกรณ์เครื่องใช้
3) เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย
3) เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลายมีหลายขนาดตั้งแต่เบอร์ 14, 16, 18, 20, 22 และ 24
2) ชุดให้สารน้ำของผู้ป่วยบรรจุในซองที่ปิดผนึกมิดชิดผ่านการฆ่าเชื้อ
4)อุปกรณ์อื่นๆ เช่น เสาแขวนขวดให้สารน้ำ ยางรัดแขน
1) ขวดสารน้ำโดยขวดสารน้ำ/ยา ต้องเตรียมให้ตรงกับใบสั่งการรักษา
6. อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1.ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่
3)การติดเชื้อเฉพาะที่
4) หลอดเลือดดำอักเสบ
2) การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
1)การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอก
2.ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด
2) การติดเชื้อในกระแสเลือด
3)เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด
1)การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ
4)ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป
7 การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินแผนการรักษา
8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินด้านร่างกาย
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการบริหารยา
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
9การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
1.ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้ หรือรับประทานได้น้อยไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
2.ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
3)ภาวะทางศัลยกรรม
4)ความผิดปกติของจิตใจ
2)โรคของอวัยวะต่างๆ
5)โรคมะเร็งต่างๆ
1)โรคทางเดินอาหาร
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
3.โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน
4.วิตามิน
2.สารละลายไขมัน
5.เกลือแร่
1.คาร์โบไฮเดรต
6.น้ำให้คำนวณจำนวนน้ำที่จะให้แก่ผู้ป่วยตามน้ำหนักตัว
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN) เป็นการให้โภชนาการบำบัดทางหลอดเลือดดำเพียงบางส่วน
Total parenteral nutrition (TPN) เป็นการให้โภชนบำบัดครบตามความต้องการของผู้ป่วยทั้งปริมาณพลังงานที่ต้องการ
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein)ข้อดีของการให้วิธีนี้คือไม่ยุ่งยาก สามารถให้แก่ผู้ป่วยได้ทันที
2.การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ (central vein)
10อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้สารอาหารมากเกินไป
3.1ลักษณะที่พบได้แก่
3)ผู้ป่วยมีปริมาณน้ำเข้าและออกไม่สมดุล
4)มีการคั่งของเลือดดำจะพบว่าหลอดเลือดดำที่คอโป่ง
2)ตรวจพบความดันเลือดและแรงดันหลอดเลือดส่วนกลางสูงขึ้น
5)ถ้ารุนแรงจะมีภาวะปอดบวมน้ำ
1)อาการแสดงที่ปรากฏเริ่มแรก
3.2การพยาบาลและการป้องกัน
1)ปรับอัตราหยดให้ช้าที่สุดและรายงานให้แพทย์ทราบด่วน
2)บันทึกสัญญาณชีพ
3)จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านั่งเพื่อช่วยให้หายใจสะดวกขึ้น
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
2.1ลักษณะที่พบได้แก่
1)อาการเขียว
2)สังเกตพบว่าอัตราการหยดของสารอาหารจะช้าลง หรือหยุดไหล
2.2 การพยาบาลและการป้องกัน
2)หยุดให้สารอาหารทันทีถ้าพบว่ามีก้อนเลือดอุดตันที่เข็ม
3)ห้ามนวดคลึง
1)ระมัดระวังในการเปลี่ยนขวดสารอาหาร
ไข้
4.1 ลักษณะที่พบได้แก่
2)ปวดหลัง ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน
3)หนาวสั่น
1)ไข้สูง 37.3-41 องศาเซลเซียส
4)ความรุนแรงของอาการขึ้นอยู่กับเชื้อจุลินทรีย์ที่ได้รับและสภาวะของผู้ป่วย
4.2 การพยาบาลและการป้องกัน
1)หยุดให้สารอาหาร
2)บันทึกสัญญาณชีพ และรายงานแพทย์
3)ถ้าเป็นไปได้ ควรเก็บชุดให้สารอาหารและชุดสายให้สารอาหารส่งเพาะเชื้อ
4)ตรวจสอบรูรั่วของสายให้อาหารก่อนใช้ทุกครั้ง
5)เปลี่ยนชุดให้สารอาหารทุก 24ชั่วโมง
1.บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง
1.1ลักษณะที่พบได้แก่
2)ผู้ป่วยรู้สึกไม่สุขสบายบริเวณที่ให้
1)บวมบริเวณที่ให้
1.2การพยาบาลและการป้องกัน
1)ถ้าพบว่ามีสารอาหารซึมออกมาอยู่ในเนื้อเยื่อควรหยุดให้สารอาหารทันที
2)ควรดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันการเกิดสารอาหารซึมออกมาอยู่ในเนื้อเยื่อ
11 การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดำ
ขั้นตอนที่ 3การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ขั้นตอนที่ 2ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ(Evaluation)
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย(Assessment)
12 การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป ABรับได้จากทุกกรุ๊ป แต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB
4.คนเลือดกรุ๊ป Aรับได้จาก AและOให้ได้กับ AและAB
คนเลือดกรุ๊ป Oรับได้จาก Oเท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป Bรับได้จาก BและOให้ได้กับ BและAB
คนเลือดกรุ๊ป Rh-veต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น
13ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
ไข้ (Febrile transfusion reaction)
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)
2.ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป(Volume overload)
5.การถ่ายทอดโรค (Transfusion-associated graft versus host disease)
1.เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
6.การอุดตันจากฟองอากาศ(Air embolism)
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
8.ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ (Hyperkalemia)
14การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
15การบันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออกจากร่างกาย(Record Intake-Output)
หลักการบันทึกจำนวนสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย
3) ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
4) จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร
2) อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจำนวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
5)การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมงและทุกวัน
1) แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
6) บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่นๆ
16กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
4.การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
2.ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล(Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)