Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดด้าส่วนปลาย (Peripheral intravenous infusion)
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้น ๆ
Heparin lock หรือ Saline lock
เป็นการแทงเข็มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลายและคา
เข็มที่หล่อด้วยสารต้านการแข็งตัวของเลือด (Heparin)
Piggy back IV Administration
เป็นการให้สารน้ำขวดที่ 2 ซึ่งมีขนาดบรรจุ 25 – 250 มล.²
ต่อเข้ากับชุดให้สารน้ำขวดแรก
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่ (Central venous therapy)
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central line ทางหลอดเลือดดำใหญ่
Subclavian vein
Internal & External jugular veins
Right & Left Nominate veins
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง(Implanted vascular access device หรือ venous port)
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลวทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนัง โดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่
Subclavian vein
Right & Left Nominate veins
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
มีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์ (Extracellular fluid) ซึ่งมีออสโมลาริตี้ระหว่าง 280-310 m0sm/
สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 m0sm/l ซึ่งค่า Osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์เป็นสารน้ำที่มีโมเลกุลอิสระของน้ ามากกว่าในเซลล
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
เป็นสารน้ำที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า310 m0sm/l ซึ่งมีมากกว่าออสโมลาริตี้ของน้ำนอกเซลล์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
การแขวนขวดสารน้ำให้สูง สารน้ำจะหยดเร็วกว่าการ
แขวนขวดในระดับต่ำ
ความหนืดของสารน้ำ
ถ้าสารน้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
เข็มขนาดใหญ่จะมีทางผ่านกว้าง อัตราการหยดจะเร็วกว่า
ใช้เข็มขนาดเล็ก
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
จะบังคับการหยดได้ไม่ดีพอ อัตราการหยดจะเร็ว
สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด
ทำให้สารน้ำผ่านไม่สะดวก อัตราการไหลจะช้าลง และถ้าปลายข้อต่อของสายให้น้ำถูกดึงรั้งจนหลวมหลุดจากเข็มสารน้ำจะไหลเร็วแต่ไม่เข้าหลอดเลือดดำและจะมีเลือดออกมาจากหัวเข็มด้วย
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
แน่นหรือตึงเกินไปรวมทั้งการนั่ง หรือนอนทับสายให้สารน้ำ จะปิด
กั้นทางผ่านของสารน้ำทำอัตราการหยดช้าลง
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
อาจทำให้เข็มเคลื่อนที่ ปลายตัดของเข็มแนบชิดผนังหลอดเลือด หรือแทงทะลุหลอดเลือด สารน้ำไหลไม่สะดวก อัตราการหยดจะช้าลง
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น หรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/ นาที)= จำนวน Sol.(มล/ชม.) x จำนวนหยดต่อมล.)/เวลา(นาที)
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม.= ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้/
จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ เพราะจะทำให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้ หากเป็นสารน้ำชนิด Hypertonic
อุปกรณ์เครื่องใช้
ขวดสารน้ำ
ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral insertion devices)
อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น เสาแขวนขวดให้สารน้ำ ยางรัดแขน (Tourniquet)
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอก หลอดเลือดดำ (Infiltration)
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม (Extravasations)
การติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection)
หลอดเลือดดำอักเสบ (Phlebitis)
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ (Allergic reaction)
การติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia หรือ Septicemia)
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด (Air embolism)
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป (Circulatory overload) เกิดจากอัตราการหยดของสารน้ำเร็วเกินไป โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคหัวใจ อาจเกิดอาการหัวใจวาย (Cardiac failure)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์ของการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
ให้สารน้ำทดแทนน้ำที่สูญเสียจากร่างกาย เช่น ท้องเสีย อาเจียน เสียเลือด
ให้สารน้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกายในรายที่ไม่สามารถรับประทานได้ทางปาก
ให้ยาบางชนิดที่ไม่สามารถดูดซึมทางระบบทางเดินอาหาร
รักษาสมดุลของกรด-ด่างในร่างกาย ในรายที่มีภาวะเสียสมดุลกรด–ด่าง
ใช้เป็นช่องทางในการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ ติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยให้ปริมาณของยาในกระแสโลหิตอยู่ในระดับสม่ำเสมอกัน
แก้ไขความดันโลหิต โดยการให้สารละลายที่มีความเข้มข้นมากกว่าน้ำในร่างกาย
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
วิธีทำการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา และเขียนชื่อนามสกุลของผู้ป่วย ชนิดของสารน้ำ วัน เวลาที่เริ่มให้อัตราการหยดของสารน้ำ
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบรายชื่อนามสกุล เตียงผู้ป่วยให้ตรงกับป้ายข้อมือผู้ป่วย
บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจและลดความวิตกกังวล และผู้ป่วยให้ความร่วมมือ
ล้างมือให้สะอาด
ดึงแผ่นโลหะที่ปิดขวดสารน้ำหรือฝาครอบที่ปิดถุงน้ำพลาสติกออก
เช็ดจุกยางที่ขวดหรือถุงสารน้ำด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ต่อ IV set กับ IV fluid
ต่อ three ways กับ extension tube แล้วมาต่อกับ IV set
ปิด clamp ที่ IV set
แขวนขวด IV fluid เสาน้ำเกลือแขวนให้สูงประมาณ 1 เมตร (3 ฟุต) จากผู้ป่วย
บีบ chamber ของ IV set ให้IV fluid ลงมาในกระเปาะประมาณ ½ ของกระเปาะ
การเตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตามหลักการ 6 Rightsและหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ 2 อยู่ในคุณภาพระดับใด
ประเมินคุณภาพของการให้บริการ ข้อ 3 อยู่ในคุณภาพระดับใด
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
การบริหารยาที่มีประสิทธิภาพโดยใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของpatient safety goals
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการบริหารยา
วัตถุประสงค์ของการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาออกฤทธิ์เร็ว
ให้ยาที่มีผลระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อ
ให้ยาชนิดที่ไม่สามารถให้ทางอื่นได้ผลต่อการรักษา
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
วิธีการฉีดยา
แบบที่ 1 IV plug กับ piggy back (100 ml)
แบบที่ 2 IV plug กับ syringe IV push
แบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
แบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
แบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
แบบที่ 6 three ways กับ syringe IV push
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการบริหารยาฉีด
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goal
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ 2 อยู่ในคุณภาพระดับใด
ประเมินคุณภาพของการให้บริการ ข้อ 3 อยู่ในคุณภาพระดับใด
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ าทางปากไม่ได้
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
อาเจียน
อุจจาระร่วงรุนแรง
อุจจาระร่วงเป็นระยะเวลานาน
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
โรคทางเดินอาหาร
อุจจาระร่วงเรื้อรัง
การอักเสบในระบบทางเดินอาหาร
ลำไส้ อักเสบ
จากการฉายรังสี
โรคของอวัยวะต่างๆ
ภาวะไตวาย
โรคหัวใจแต่กำเนิด
ภาวะทางศัลยกรรม
ถูกน้ำร้อนลวก
ภายหลังการผ่าตัด
ความผิดปกติของจิตใจ
anorexia nervosa
โรคมะเร็งต่างๆ
มะเร็งกระเพาะอาหาร
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein)
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ (central vein)
อุปกรณ์ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
สายให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
ชุดให้สารอาหาร
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง (Local infiltration) เกิดขึ้นเมื่อเข็มเคลื่อนออกจากหลอดเลือด
ลักษณะที่พบ
บวมบริเวณที่ให้ บางครั้งอาจมองเห็นไม่ชัดเจนอุณหภูมิ
ของบริเวณนั้นจะเย็นกว่าบริเวณอื่นๆ
ผู้ป่วยรู้สึกไม่สุขสบายบริเวณที่ให้
การพยาบาลและการป้องกัน
ถ้าพบว่ามีสารอาหารซึมออกมาอยู่ในเนื้อเยื่อควรหยุดให้สารอาหารทันที
ควรดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันการเกิดสารอาหารซึมออกมาอยู่ในเนื้อเยื่อ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด (Embolism)
ลักษณะที่พบ
อาการเขียว เนื่องจากขาดออกซิเจน ความดันเลือดต่ำ ชีพจรเบาเร็ว หมด
ความรู้สึก และอาจตายได้
สังเกตพบว่าอัตราการหยดของสารอาหารจะช้าลง หรือหยุดไหล
การพยาบาลและการป้องกัน
ระมัดระวังในการเปลี่ยนขวดสารอาหารไม่ให้อากาศผ่านเข้าไปในชุดสาย
ให้สารอาหารโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อผู้ป่วยอยู่ในท่านอนหรือยืน
หยุดให้สารอาหารทันทีถ้าพบว่ามีก้อนเลือดอุดตันที่เข็ม
ห้ามนวดคลึงเพราะอาจทำให้ก้อนเลือดนั้นหลุดเข้าไปในกระแสเลือดและ
ถ้าผู้ป่วยมีอาการแสดงให้บันทึกสัญญาณชีพ และรายงานแพทย์ด่วน
การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload)
ลักษณะที่พบ
อาการแสดงที่ปรากฏเริ่มแรก คือ ปวดศีรษะ หายใจตื้น และหอบเหนื่อย
ตรวจพบความดันเลือดและแรงดันหลอดเลือดส่วนกลางสูงขึ้น ชีพจรเร็ว
ผู้ป่วยมีปริมาณน้ำเข้าและออก (intake/output) ไม่สมดุล
มีการคั่งของเลือดดำจะพบว่าหลอดเลือดดำที่คอโป่ง
ถ้ารุนแรงจะมีภาวะปอดบวมน้ำ อาการคือ หายใจลำบาก นอนราบไม่ได้
ผิวหนังเขียวคล้ำ ไอมีเสมหะเป็นฟองและอาจมีเลือดปน
การพยาบาลและการป้องกัน
ปรับอัตราหยดให้ช้าที่สุดและรายงานให้แพทย์ทราบด่วน
บันทึกสัญญาณชีพ
จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านั่งเพื่อช่วยให้หายใจสะดวกขึ้น
ไข้(pyrogenic reactions)
ลักษณะที่พบ
ไข้สูง 37.3-41 องศาเซลเซียส
ปวดหลัง ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน
หนาวสั่น
ความรุนแรงของอาการขึ้นอยู่กับเชื้อจุลินทรีย์ที่ได้รับและสภาวะของผู้ป่วย
การพยาบาลและการป้องกัน
หยุดให้สารอาหาร
บันทึกสัญญาณชีพ และรายงานแพทย์
ถ้าเป็นไปได้ ควรเก็บชุดให้สารอาหารและชุดสายให้สารอาหารส่งเพาะเชื้อ
การเตรียมสารอาหารควรทำด้วยวิธีปลอดเชื้อ ก่อนให้สารอาหารทุกครั้ง
เขียนวัน เวลาที่เริ่มให้สารอาหารข้างขวดเพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทราบโดยทั่วไปสารอาหารแต่ละขวดไม่ควรให้นานเกิน 24 ชั่วโมง
ตรวจสอบรูรั่วของสายให้อาหารก่อนใช้ทุกครั้ง
เปลี่ยนชุดให้สารอาหารทุก 24 ชั่วโมง
ควรมีสถานที่เฉพาะสำหรับเตรียมสารอาหารและหมั่นรักษาความสะอาด กำจัดฝุ่นละอองให้มากที่สุด
ล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสอุปกรณ์และบริเวณที่แทงเข็ม
หุ้มผ้าก๊อซปราศจากเชื้อบริเวณรอยข้อต่อต่างๆ
การหยุดให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
เมื่อไม่มีความจำเป็นที่จะให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำให้งด สารละลายไขมันได้ทันที และลดความเข้มข้นของน้ำตาลกลูโคส และกรดอะมิโนลง รวมทั้งเกลือแร่ต่างๆ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย (Assessment)
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
มีโอกาสเกิดหลอดเลือดดำอักเสบจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นเวลาหลายวัน
มีโอกาสเกิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือดจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นเวลาหลายวัน
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำตามแผนการรักษาและไม่เกิดอาการแทรกซ้อน
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ก่อนและขณะให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ควรมีการประเมินสภาพร่างกาย และควบคุมผู้ป่วยในระยะแรก และระยะหลังของการได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ประเมินสัญญาณชีพก่อนและขณะให้สารอาหารและติดตามทุก 2-4 ชั่วโมง
ผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย (peripheral vein) ควรเปลี่ยนตำแหน่งให้ทุก 3 วัน
ป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิด และปริมาณของสารอาหารอัตราหยดต่อนาที วัน และเวลาที่เริ่มให้ วัน และเวลาที่สารอาหารหมด ชื่อผู้เตรียมสารอาหาร
สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับผู้ป่วย
ถ้าสารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำรั่ว หรือทางเส้นเลือดดำอุดตัน ให้ไม่ได้ ควรรายงานให้แพทย์ทราบ
หลีกเลี่ยงการให้ยาฉีดทางหลอดเลือดดำสายเดียวกับให้สารอาหารทางหลอกเลือดดำถ้าจำเป็นต้อง push ยาเข้าทางสายให้อาหาร (IV catheter) ในตำแหน่งเดียวกับที่ให้สารอาหาร
ดูแลทางด้านจิตใจ โดยอธิบายให้เข้าใจถึงความจำเป็นในการได้สารอาหาร ประโยชน์ที่ได้รับเพื่อผู้ป่วยจะได้ให้ความร่วมมือ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ(Evaluation)
การประเมินผลการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ติดตามประเมินสัญญาณชีพก่อน ขณะ และหลังการได้รับสารอาหาร
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ 2 อยู่ในคุณภาพระดับใด
ประเมินคุณภาพของการให้บริการ ข้อ 3 อยู่ในคุณภาพระดับใด
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
เลือด (whole blood)
เซลล์เม็ดเลือด
เซลล์เม็ดเลือดแดง (red blood cell หรือ erythrocyte)
เซลล์เม็ดเลือดขาว (white blood cell หรือ leukocyte)
เกร็ดเลือด(platelet)
น้ำเลือด (plasma)
การให้เลือด (Blood transfusion)
การให้เลือด หรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือเฉพาะน้ำเลือดแก่ผู้ป่วยโดยผ่านเข้าทางหลอดเลือดดำการให้เลือดแม้จะช่วยชีวิตผู้ป่วยได้ แต่ก็ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้
การให้เลือดนั้น พยาบาลต้องมีความรู้เกี่ยวกับหมู่เลือด เนื่องจากการให้เลือดที่เข้ากันไม่ได้ระหว่างผู้ให้และผู้รับจะก่อให้เกิดปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจนและแอนติบอดี้
ระบบ ABO จำแนกหมู่เลือดออกเป็น 4 หมู่
A
B
AB
O
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น แต่ต้องดูกรุ๊ปเลือดตามระบบ ABO ด้วย (หากคนเลือดกรุ๊ป Rh-ve รับเลือดจาก Rh+ve อาการข้างเคียงจะยิ่งรุนแรงมากขึ้น ในครั้งถัดๆไป)
คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O เท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป ABรับได้จากทุกกรุ๊ป แต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB
คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A และ O ให้ได้กับ A และ AB
คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B และ O ให้ได้กับ B และ AB
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
เกิดจากการให้เลือดผิดหมู่
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป (Volume overload)
เกิดจากการให้เลือดในอัตราเร็วเกินไป จึงเพิ่มปริมาตรการไหลเวียนในกระแสเลือด
ไข้ (Febrile transfusion reaction)
เกิดจากการได้รับสารที่ทำให้เกิดไข้เชื้อแบคทีเรียจาก
เครื่องใช้หรือเทคนิคการให้เลือดที่ไม่สะอาด
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)
เกิดจากผู้รับแพ้สารอย่างใดอย่างหนึ่งในเลือดที่ได้รับ
การถ่ายทอดโรค (Transfusion-associated graft versus host disease)
เกิดจากการขาดการตรวจสอบเลือดของผู้ให้
การอุดตันจากฟองอากาศ (Air embolism)
เกิดจากการไล่ฟองอากาศไม่หมดไปจากสายให้เลือดอากาศจะลอยไปตามกระแสเลือด และอาจไปอุดตันหลอดเลือดดำให้ขัดขวางการนำออกซิเจนไปเลี้ยงอวัยวะส่วนนั้น
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
เกิดจากการให้เลือดติดต่อกันเป็นจำนวนมากจึงมีการสะสมของสารกัน
การแข็งตัวของเลือดเพิ่มขึ้น
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ (Hyperkalemia)
เกิดจากการให้เลือดที่เก็บไว้ในธนาคารเลือดนานเกินไป
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้เลือดและสารประกอบของเลือดตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
วัตถุประสงค์ของการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ทดแทนปริมาณเลือดที่สูญเสียไป
จากการตกเลือดหรือจากการผ่าตัด
ทดแทนเม็ดเลือดแดง และรักษาระดับฮีโมโกลบิน (hemoglobin: Hb)
ทดแทนปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
ผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลีย (hemophelia)
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
วิธีทำการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ตรวจสอบแผนการรักษา และเขียนชื่อนามสกุลของผู้ป่วย ชนิดของเลือดและส่วนประกอบของเลือด Rh. วัน เวลาที่เริ่มให้อัตราการหยด ลงในแผ่นฉลากปิดข้างขวด
ตรวจสอบชื่อนามสกุล Rh. ของผู้ป่วย HN กับป้ายชื่อข้างขวดเลือดหรือส่วนประกอบของเลือดจากธนาคารเลือด (blood bank) โดยพยาบาล 2 คน
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบรายชื่อนามสกุล เตียงผู้ป่วยให้ตรงกับป้ายข้อมือผู้ป่วยอีกครั้ง
บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้ เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจและลดความวิตกกังวล และผู้ป่วยให้ความร่วมมือ
ล้างมือให้สะอาด
ดึงที่ปิดถุงเลือดออก
เช็ดรอบ ๆ ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ต่อ blood set กับ ขวดเลือด
ต่อ three ways กับ extension tube แล้วมาต่อกับ blood set ปิด clamp
แขวนขวดเลือดกับเสาน้ำเกลือแขวนให้สูงประมาณ 1 เมตร (3 ฟุต)จากผู้ป่วย
บีบ chamber ของ blood set ให้ เลือดไหลลงมาในกระเปาะประมาณ ½ ของกระเปาะ
การเตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
การประเมินผลการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ติดตามประเมินสัญญาณชีพก่อน ขณะ และหลังการได้รับเลือด
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ 2 อยู่ในคุณภาพระดับใด
ประเมินคุณภาพของการให้บริการ ข้อ 3 อยู่ในคุณภาพระดับใด
การบันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออกจากร่างกาย (Record Intake-Output)
จำนวนน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
จำนวนน้ำหรือของเหลวทุกชนิดที่ร่างกาย
ได้รับ ซึ่งจะได้รับด้วยวิธีใดก็ตาม
ได้รับทางปาก
การดื่มน้ำ
นมหรือเครื่องดื่มชนิดต่างๆ
ได้รับอาหารทางสายให้อาหาร
การได้รับสารน้ำ
ยา
จำนวนน้ำที่ร่างกายขับออก (Fluid output)
จำนวนน้ำที่ร่างกายสูญเสียออกนอก
ร่างกายด้วยวิธีการต่างๆ
ทางปัสสาวะ
อาเจียน
อุจจาระ
ของเหลวที่ออกจากท่อระบายต่างๆ
หลักการบันทึกจ้านวนสารน้้าที่เข้าและออกจากร่างกาย
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจำนวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร พร้อมทั้งอธิบายให้ผู้ป่วยดื่มน้ำในขวดที่เตรียมไว้ให้
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่น ๆ
อาเจียน
ท้องเดิน
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
มีภาวะหลอดเลือดดำอักเสบจากการได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำเป็นเวลานาน
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ไม่เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบที่รุนแรงขึ้น
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
หยุดให้สารน้ำทันที
ประเมินอาการบวมที่หลังมือซ้ายทุกเวร หากบวมมากขึ้น ผู้ป่วยมีไข้
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
จัดมือซ้ายที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย โดยใช้หมอนรอง เพื่อลดอาการบวม
เปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม
ประเมินการขาดสารน้ำและอิเล็คโตรไลท์ โดยบันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกทุกเวร เพื่อให้ความช่วยเหลือและแก้ไขโดยเร็ว
ลดภาวะเครียดโดยให้ความช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินอาการปวดของผู้ป่วย (โดยการสังเกตสีหน้าท่าทางของผู้ป่วย และจาก Painscale) ผู้ป่วยสีหน้าสดชื่น ไม่บ่นปวดบริเวณหลังมือซ้าย
ประเมินอาการหลอดเลือดดำอักเสบบริเวณหลังมือ (อาการบวมลดลง)
ปริมาณสารน้ำเข้าและออกมีความสมดุล